ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: nubthong
« เมื่อ: กรกฎาคม 13, 2012, 05:42:10 pm »

การให้ธรรมทานชนะการให้ทั้งปวง
การที่เราให้วัตถุทาน ให้ข้าว ให้น้ำ ให้เสื้อผ้า
แก่เพื่อนมนุษย์ที่ตกยาก
มันก็ไม่ได้ช่วยให้เขาพ้นทุกข์หรือรวยขึ้น
หรือมีชีวิตที่สุขสมบูรณ์ตลอดไป
การช่วยอย่างนี้ไม่ไดเรียกว่า “ รื้อสัตว์ขนสัตว์”
เรียกว่า “สงเคราะห์กันชั่วคราว”
ให้ได้มีกิน มีใช้ กินอิ่มเป็นมื้อ ๆ เท่านั้น

วัตถุทานที่ให้ไปนั้น ใช้ได้ไม่นาน
แต่ถ้าเราให้ธรรมทานซึ่งใช้ได้ตลอดชีวิต
เราบอกเขาครั้งเดียว ให้เขาได้เข้าใจธรรมะ
เข้าใจเรื่องราวความเป็นจริง ของชีวิต หรือได้ปฎิบัติธรรม
ได้เรียนรู้ตามประสบการณ์ที่เราเข้าถึง
แค่เพียงครั้งหนึ่งในชีวิตที่ได้พบกัน
แล้วได้ฟังเรื่องราวความรู้ที่ทำให้เอาตัวรอดได้
การพบกันครั้งนั้นก็เกิดประโยชน์อันยิ่งใหญ่แล้ว
แม้ต่อไปจะไม่ได้พบกันอีกก็ตาม
เพราะได้ให้ธรรมทาน ความรู้ที่จะทำชีวิตให้รอด
และปลอดภัยจากอบาย จากสังสารวัฎ

การให้ธรรมทานนี้จึงเป็นเลิศกว่าการให้ทั้งปวง
และอย่างนี้ถึงจะเรียกว่า “รื้อสัตว์ขนสัตว์” ให้พ้นจากวัฏสงสาร
เหมือนอย่างที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าบำเพ็ญมา