ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: สิงหาคม 16, 2012, 08:11:55 pm »





ธรรมาวุธ :ความพอดี (หลวงพ่อชา)

“เรามาฝึกการปฏิบัติ ทำไมท่านถึงให้เรากินน้อย นอนน้อย พูดน้อย
อะไร ๆ ทุกอย่าง ให้มันน้อยไป ๆ คำที่ว่ามันน้อยน่ะ มันจะพอดีหรือ
ความเป็นจริงนั้นยังไม่พอดี ไม่สม่ำเสมอ
แต่ทำไมท่านถึงว่าให้เราทำให้มันน้อย

พูดน้อย ๆ คุยน้อย ๆ นอนน้อย ๆ เพื่อให้เรารู้จักความพอดี
ความเหมาะสมของตัวเรานั่นเอง
ทุกท่านให้พยายาม รีบเกินไปก็ไม่ได้
ให้รู้จักผ่อนสั้นผ่อนยาว หาความพอดี

ถ้ามันน้อยไปเราก็เติม ถ้ามากไปเราเอาออก เป็นสัมมาปฏิปทาคือ พอดี
ถ้ามันดื้อ ก็ใช้ข้อวัตรเข้าควบคุม ให้มันเข็ด ฝึกมันทรมานมัน
ถ้ามันเป็นอีกก็ทำอีก นี่เรียกว่า การปฏิบัติหาทางพ้นทุกข์ของเรา


การพูดจาปราศรัย ทุกอิริยาบถให้มีความรู้สึกอยู่ในใจของเรา
ความพอดีนั้นเป็นแนวทางปฏิบัติที่ไม่ข้องแวะกับสิ่งสุดโต่ง

กามสุขัลลิกานุโยโค คือ ใจของเราลุ่มหลงในความสุข
ลุ่มหลงในความสบาย ลุ่มหลงในความดีใจ
ลุ่มหลงว่าเราดี เราเลิศ เราประเสริฐ

อัตตกิลมถานุโยโค คือ อาการที่ไม่พอใจ อาการที่เป็นทุกข์
อาการที่ไม่ชอบใจ อาการกริ้วโกรธ


ธรรม ๒ อย่างนี้ ไม่ใช่หนทางของบรรพชิตจะพึงเดิน
หนทางคือ อาการดีใจ หรือเสียใจ
เดินทางคือ ตัวผู้รู้ของเรานั่นแหละผู้เดินทางคือ จิต
ผู้สงบท่านไม่เดินทางนั้น


แต่ว่าทางนั้นท่าน ก็เห็น อาการสุขก็เห็น
แต่ท่านไม่มีอุปทานยึดมั่นกับมัน ปล่อยมันไป วางมันไป ละมันไป จึงเป็นผู้สงบ
การรู้จักความพอดี ก็เกิดจากการพิจารณาความไม่แน่นั่นเอง

การประพฤติปฏิบัตินี้ ต้องมีปฏิปทาที่พอดี ๆ ไม่สูงเกินไป อยู่ในระดับพอดี
ถ้ามันเกินพอดี หรือ ต่ำกว่าพอดี มันก็ไปไม่ได้ ไม่ใช่สัมมาปฏิบัติของพระ

ถ้าเราดูเสมอว่า ยืน นั่ง นอนน่ะ เรารู้สภาพอารมณ์ทั้งหลายมันพอดี
โดยอำนาจที่ว่า ของมันไม่แน่แล้ว มันก็ไม่มีอะไรมากไปกว่านั้นอีก
แต่ว่าคนเรามันทนไม่ไหว
มันอยากเกินขีด มันดันขึ้น ๆ ไม่รู้จักความพอดีของมัน

ความพอดีของมัน เกิดจากที่ว่าเมื่อพบอารมณ์อะไร ก็บอกมันว่าไม่แน่
เรื่องอนิจจังเรียกว่าไม่แน่ ทนเอาอยู่ตรงนั้นแหละ ไม่ก้าวไป ไม่ถอยกลับ
อยู่ตรงนี้ ทนไม่นานเดี๋ยวก็พบความจริงได้”



-http://agaligohome.fix.gs/index.php?topic=894.0