ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: กันยายน 24, 2012, 11:08:23 pm »





金剛般若波羅蜜經
วัชรปรัชญาปารมิตาสูตร (กิมกังเกง)
正信希有分第六ตอนที่ 6 ศรัทธาที่ถูกตรง หาได้ยากยิ่ง

須菩提白佛言 พระสุภูติทูลพระพุทธองค์ว่า...
世尊 ข้าแต่ พระผู้มีพระภาค
頗有衆生 ยังจะมีสรรพสัตว์
得聞如是言說章句 ที่ได้ยินคำสอน อย่างนี้
生實信不 แล้วเกิดศรัทธาที่แท้จริงหรือไม่หนอ

佛告須菩提 มีพุทธดำรัส กับพระสุภูติว่า...
莫作是說 จงอย่ากล่าวอย่างนี้เลย
如來滅後 หลังจากตถาคตนิพพานแล้ว
後五百歲 ห้าร้อยปี
有持戒修福者 จะมีผู้ที่สมาทานศีล และบำเพ็ญกุศล

於此章句 เกิดจิตศรัทธา
能生信心 ในคำสอนนี้
以此為實 เชื่อถือเป็นสัจจะ
當知是人 พึงทราบว่าบุคคลนี้
不於一佛二佛三四五佛 ไม่ได้เพียงปลูกฝังกุศลมูลต่อพระพุทธเจ้า 1 พระองค์
而種善根 หรือ 2,3,4,5 พระองค์เท่านั้น

已於無量千萬佛所 แต่ได้ปลูกฝังกุศลมูลต่อพระพุทธเจ้าจำนวน พันหมื่นพระองค์
種諸善根 ไม่อาจประมาณจำนวน
聞是章句 ที่เมื่อได้ยินคำสอนนี้
乃至一念生净信者 แล้วเกิดศรัทธาที่บริสุทธิ์ แม้เพียงครั้งเดียว ก็ตาม

須菩提 สุภูติ
如來悉知悉見 ตถาคตล้วนรู้ ล้วนเห็นอยู่ทั้งสิ้น
是諸衆生 ว่าสรรพสัตว์นี้
得如是無量福德 เป็นผู้ได้รับบุญกุศล ที่ไม่มีประมาณอย่างนี้
何以故 เหตุใดนั้นหรือ

是諸衆生 เพราะสรรพสัตว์นี้
無復我相人相衆生相壽者相 จะไม่เกิดมีลักษณะว่าเป็นตัวตน
ว่าเป็นบุคคล ว่าเป็นสัตว์ ว่ามีอายุอย่างนี้ๆ อีกต่อไป
無法相 ไร้ลักษณะว่าคือธรรม
亦無非法相 จึงไร้ลักษณะว่ามิ ใช่ธรรม ด้วย

何以故 เหตุไฉนนั้นหรือ
是諸衆生 สรรพสัตว์นี้
若心取相 หากจิตติดยึดในลักษณะ
則為著我人衆生壽者 ย่อมจะติดยึดในความเป็นตัวตน ,บุคคล,สัตว์,และความมีอายุ
若取法相 หากติดยึดใน “ลักษณะว่าคือธรรม
即著我人衆生壽者 ก็จะติดยึดในความเป็นตัวตน ,บุคคล,สัตว์,และความมีอายุ

何以故 เหตุใดนั้นหรือ
若取非法相 แม้นหากติดยึดใน “ลักษณะของความไม่ใช่ธรรม
即著我人衆生壽者 ก็จะติดยึดในความเป็นตัวตน ,บุคคล,สัตว์,และความมีอายุ

是故不應取法 ด้วยเหตุนี้ จึงไม่ควรติดยึดในธรรม
不應取非法 และไม่ควรติดยึดในความไม่ใช่ธรรม ด้วย
以是義故 ด้วยนัยยะอย่างนี้

如來希說 ตถาคตจึงกล่าวว่า...
汝等比丘 ดูก่อน พวกเธอภิกษุทั้งหลาย
知我說法如笺喻者 พึงรู้ว่าธรรมที่ตถาคตแสดง อุปมาดั่งพ่วงแพ
法尚應舍 แม้ธรรมยังพึงต้องละ

何况非法 แล้วจะประสาใด กับ ความไม่ใช่ธรรม เล่า.



กิมกังเกง เป็นชื่อเรียก พระสูตรเล่มนี้ ด้วยสำนวนภาษาจีนแต้จิ๋ว
... กิมกัง แปลว่า วัชระ --เกง เป็นว่า สูตร
-- จึงแปลความหมายว่า วัชรสูตร ซึ่งเป็นชื่อย่อ ของพระสูตร หรือคำสอน เล่มนี้


(พระวิศวภัทร...แปล)
- http://www.facebook.com/mahaparamita