ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: ตุลาคม 04, 2012, 01:56:45 pm »





ภิกษุทั้งหลาย ! ภิกษุเป็น ผู้มี ปกติ พิจารณา เห็นจิต ในจิต อยู่ นั้นเป็น อย่างไรเล่า ?
ภิกษุ ทั้งหลาย ! ภิกษุในกรณีนี้
(๑) รู้ชัด ซึ่ง จิต อันมีราคะ ว่า “จิตมีราคะ”
(๒) รู้ชัด ซึ่ง จิต อัน ปราศจากราคะ ว่า “จิตปราศจากราคะ”
(๓) รู้ชัด ซึ่ง จิต อัน มีโทสะ ว่า “จิตมีโทสะ”
(๔) รู้ชัด ซึ่ง จิต อัน ปราศจากโทสะ ว่า “จิตปราศจากโทสะ”

(๕) รู้ชัด ซึ่ง จิต อัน มีโมหะ ว่า “จิตมีโมหะ”
(๖) รู้ชัด ซึ่ง จิต อัน ปราศจากโมหะ ว่า “จิตปราศจากโมหะ”
(๗) รู้ชัด ซึ่ง จิต อัน หดหู่ ว่า “จิตหดหู่”
(๘) รู้ชัด ซึ่ง จิต อัน ฟุ้งซ่าน ว่า “จิตฟุ้งซ่าน”

(๙) รู้ชัด ซึ่ง จิต อัน ถึง ความเป็น จิตใหญ่ ว่า
“จิตถึง แล้ว ซึ่ง ความเป็น จิตใหญ่”
(๑๐) รู้ชัด ซึ่ง จิต อัน ไม่ถึง ความเป็น จิตใหญ่ ว่า
“จิต ไม่ถึง แล้ว ซึ่ง ความเป็น จิตใหญ่”
(๑๑) รู้ชัด ซึ่ง จิต อัน ยังมี จิตอื่น ยิ่งกว่า ว่า
“จิตยัง มีจิต อื่น ยิ่งกว่า”
(๑๒) รู้ชัดซึ่งจิต อัน ไม่มีจิต อื่นยิ่งกว่า ว่า “จิตไม่มี จิตอื่นยิ่งกว่า”

(๑๓) รู้ชัด ซึ่ง จิต อัน ตั้งมั่น ว่า “จิตตั้งมั่น”
(๑๔) รู้ชัด ซึ่ง จิต อันไม่ ตั้งมั่น ว่า “จิตไม่ตั้งมั่น”
(๑๕) รู้ชัด ซึ่ง จิต อันหลุดพ้นแล้ว ว่า “จิตหลุดพ้นแล้ว”
(๑๖) รู้ชัด ซึ่ง จิต อัน ยังไม่หลุดพ้น ว่า “จิตยังไม่หลุดพ้น”

ด้วยอาการ อย่างนี้ แล ที่ภิกษุ เป็นผู้มี ปกติ พิจารณา เห็น
จิตในจิต (จิตฺเต จิตฺตานุปสฺสี วิหรติ)
อันเป็น ภายใน อยู่บ้าง, ใน จิตอัน เป็น ภายนอก อยู่บ้าง,
ในจิต ทั้งภายใน และ ภายนอก อยู่บ้าง;
และเป็น ผู้มี ปกติ พิจารณา เห็นธรรม เป็นเหตุ เกิดขึ้นในจิตอยู่บ้าง,
เห็นธรรมเป็น เหตุเสื่อมไป ในจิต อยู่บ้าง,
เห็นธรรม เป็น เหตุ ทั้ง เกิดขึ้น และ เสื่อมไปใน จิตอยู่บ้าง;

         

ก็แหละ สติ (คือ ความ ระลึก) ว่า “จิตมีอยู่” ดังนี้ ของเธอนั้น
เป็นสติ ที่เธอ ดำรง ไว้เพียง เพื่อ ความรู้ เพียง เพื่อ ความอาศัยระลึก.
ที่ แท้เธอ เป็นผู้ที่ ตัณหาและ ทิฏฐิ อาศัยไม่ได้ และ เธอ ไม่ยึดมั่นอะไรๆ ในโลกนี้.
ภิกษุ ทั้งหลาย ! ภิกษุชื่อว่า เป็น ผู้มีปกติ ตามเห็น จิตในจิตอยู่ แม้ด้วย อาการ อย่างนี้.
- มหาสติปัฏฐานสูตร มหาวาร. สํ. ๑๐/๓๓๑/๒๘๙. facebook.com / พระพุทธเจ้า


-http://it.paperblog.com/kosmur-743689/