ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: ตุลาคม 04, 2012, 06:37:32 pm »




อาการ เกิด ดับ แห่งเวทนา
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! เวทนา ๓ อย่างเหล่านี้
เกิดมาจาก ผัสสะ มี ผัสสะ เป็นมูล
มี ผัสสะ เป็นเหตุ มี ผัสสะ เป็นปัจจัย.
๓ อย่างเหล่าไหนเล่า ? ๓ อย่างคือ :-

สุขเวทนา, ทุกขเวทนา, อทุกขมสุขเวทนา.



ภิกษุ ทั้งหลาย. ! เพราะ อาศัย ผัสสะ อันเป็น ที่ตั้ง
แห่ง สุขเวทนา
สุขเวทนา ย่อมเกิดขึ้น;
เพราะ ความดับแห่งผัสสะ อันเป็น ที่ตั้งแห่ง สุขเวทนานั้น
สุขเวทนา อันเกิดขึ้นเป็น เพราะอาศัย ผัสสะอันเป็น ที่ตั้งแห่ง
สุขเวทนา นั้น ย่อมดับไป ย่อมระงับไป.
(ในกรณีแห่ง ทุกขเวทนา และ อทุกขมสุขเวทนา ก็ได้
ตรัสไว้ด้วยถ้อยคำมีนัยยะอย่างเดียวกัน
).

ภิกษุ ทั้งหลาย. ! เปรียบ เหมือน เมื่อไม้สีไฟ สองอัน
สีกัน ก็เกิด ความร้อน และ เกิดไฟ, เมื่อไม้สีไฟ สองอัน
แยกกัน ความร้อน ก็ดับไป สงบไป.
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! ฉันใดก็ ฉันนั้น :
เวทนา ทั้งสามนี้ ซึ่งเกิดจาก ผัสสะ
มีผัสสะ เป็นมูล มีผัสสะ เป็นเหตุ มีผัสสะ เป็นปัจจัย
อาศัยผัสสะ แล้ว ย่อมเกิดขึ้น,
ย่อมดับไป เพราะผัสสะดับ, ดังนี้แล.


-สฬา. สํ. ๑๘/๒๖๖/๓๘๙-๓๙๐..
*******************




เมื่อไม่มีมา ไม่มีไป ย่อมไม่มีเกิด และไม่มีดับ
พระผู้มี พระภาคเจ้า ได้ทรง ชักชวนภิกษุ
ทั้งหลาย ด้วยธัมมิกถา อันเนื่อง เฉพาะด้วย นิพพาน
,
ได้ทรงเห็นว่า ภิกษุทั้งหลาย สนใจฟัง อย่างยิ่ง จึงได้
ตรัส พระพุทธ อุทานนี้ขึ้น ในเวลานั้น ว่า :-

ความ หวั่นไหว ย่อมมี แก่ บุคคลผู้อัน ตัณหา
และ ทิฏฐิ อาศัยแล้ว
(นิสฺสิตสฺส จลิตํ)
ความ หวั่นไหว ย่อมไม่มี แก่บุคคล ผู้อันตัณหา
และ ทิฏฐิไม่ อาศัยแล้ว
(อนิสฺสิตสฺส จลิตํ นตฺถิ)
เมื่อ ความหวั่นไหว ไม่มี, ปัสสัทธิ (ความสงบระงับ) ย่อมมี
(จลิเต อสติ ปสฺสทฺธิ)

เมื่อปัสสัทธิ มี, นติ (ความน้อมไป) ย่อมไม่มี
(ปสฺสทฺธิยา สติ นติ น โหติ)
เมื่อ นติไม่มี, อาคติ คติ (การมา และ การไป) ย่อมไม่มี
(นติยา อสติ อาคติคติ น โหติ)
เมื่อ อาคติ คติไม่มี,
จุตูปปาตะ (การเคลื่อน และ การเกิดขึ้น) ย่อมไม่มี
(อาคติคติยา อสติ จุตูปปาโต น โหติ)
เมื่อ จุตูปปาตะ ไม่มี, อะไรๆ ก็ไม่มี ในโลกนี้
ไม่มี ในโลกอื่น ไม่มีใน ระหว่าง แห่งโลกทั้งสอง

(จุตูปปาเต อสติ เนวิธ น หุรํ น อุภยมนฺตเร)
นั่นแหละ คือ ที่สุด แห่งทุกข์ละ.
(เอเสวนฺโต ทุกฺขสฺส)

อุ.ขุ. ๒๕ / ๒๐๘ / ๑๖๑.

               
                      facebook.com /pages/พระพุทธเจ้า