ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: ตุลาคม 07, 2012, 04:22:23 pm »



               

ธั ม ม จั ก กั ป ป วั ต ต น สู ต ร
ดูกร ภิกษุทั้งหลาย ที่สุด สองอย่างนี้ อันบรรพชิต ไม่ควรเสพ คือ
การประกอบ ตนให้ พัวพันด้วย กามสุข ในกาม ทั้งหลาย ๑
การประกอบ ความเหน็ดเหนื่อย แก่ตน เป็น ความลำบาก ๑

ดูกร ภิกษุทั้งหลาย ปฏิปทา สายกลาง ไม่เข้า ไปใกล้ ที่สุด
สอง อย่างนั้น นั่น ตถาคต ได้ตรัสรู้ แล้วด้วย ปัญญาอันยิ่ง
 
ทำ ดวงตา ให้เกิด ทำญาณให้เกิด
ย่อมเป็นไป เพื่อ ความสงบ เพื่อ ความรู้ยิ่ง
เพื่อ ความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน...


ปฏิปทา สายกลาง นั้น ได้แก่ อริยมรรค มีองค์ ๘ นี้แหละ คือ
ปัญญา อันเห็นชอบ ๑ ความ ดำริชอบ ๑ เจรจาชอบ ๑ การงานชอบ ๑
เลี้ยง ชีวิตชอบ ๑ พยายามชอบ ๑ ระลึกชอบ ๑ ตั้งจิตชอบ ๑

ดูกร ภิกษุ ทั้งหลาย ข้อนี้แลเป็น ทุกขอริยสัจ คือ
ความเกิด ก็ เป็นทุกข์
ความแก่ ก็ เป็นทุกข์
ความ เจ็บไข้ ก็เป็นทุกข์
ความ ตายก็ เป็นทุกข์

ความประจวบ ด้วย สิ่งที่ไม่ เป็น ที่รักก็ เป็นทุกข์
ความ พลัดพราก จากสิ่ง เป็น ที่รักก็ เป็นทุกข์
ปรารถนา สิ่งใด ไม่ได้ สิ่งนั้นก็ เป็นทุกข์
โดย ย่นย่อ คือ "อุปาทาน ขันธ์ ๕ เป็น ทุกข์"

ดูกร ภิกษุ ทั้งหลาย ข้อนี้ แลเป็น ทุกข สมุทัย อริยสัจ คือ
ตัณหาอันทำให้เกิดอีก ประกอบด้วย
ความ กำหนัด ด้วย อำนาจ ความเพลิน
มี ปกติ เพลิดเพลินใน อารมณ์นั้นๆ คือ
กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา

ดูกร ภิกษุทั้งหลาย ข้อนี้ แลเป็น ทุกข นิโรธ อริยสัจ คือ
ตัณหา นั่น แลดับ โดยไม่เหลือ ด้วยมรรค คือ
วิราคะ สละ สละคืน ปล่อยไป ไม่พัวพัน

ดูกรภิกษุ ทั้งหลาย ข้อนี้แลเป็น ทุกข นิโรธคา มินี ปฏิปทาอริยสัจ
คือ อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้แหละ คือ
ปัญญาอันเห็นชอบ ๑ ความดำริชอบ ๑ เจรจาชอบ ๑ การงานชอบ ๑
เลี้ยง ชีวิตชอบ ๑ พยายามชอบ ๑ ระลึกชอบ ๑ ตั้งจิตชอบ ๑



มหาวิ.วิ. ๔/๑๕/๑๓
-http://www.facebook.com/พระพุทธเจ้า