ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: เงาใจ
« เมื่อ: ตุลาคม 15, 2012, 04:40:45 am »

ถนนมันว่างมาตั้งแต่มีถนนแล้ว  ว่างมาตลอด 
จำนวนรถยนต์ที่ควักไข่วไปมาต่างหาก  ที่ปิดบังจนมองไม่เห็นความว่างของถนน 
ความว่างของถนนก็ไม่ได้เพิ่มขึ้นลดลง แต่อย่างใด

จิตเดิมว่างเปล่าเฉกเช่นถนนว่างเป่ลา 
ความคิดปรุงแต่ง เกิด-ดับ ควักไขว่ไปมาต่างหาก  ที่ปิดบังความว่างจนมองไม่เห็นจิตเดิม   
ความว่างไม่เคยเพิ่มหรือลดลงเลย 
 :35: :35: :35:
ข้อความโดย: เงาใจ
« เมื่อ: กันยายน 16, 2012, 02:51:03 am »

ใบสักสดเขียว เหี่ยวแห้ง แล้วโรยลา
กายาอ่อนเยาว์ สาวหนุ่ม แก่ชรา แล้วลาจาก
จิตปรุงแต่ง เกิดดับ ลาลับหาย
ธรรมชาติเดิมว่างเปล่าอย่างเคย
ข้อความโดย: ดุจเม็ดทราย
« เมื่อ: กันยายน 07, 2012, 08:24:19 am »


 :17: :17: :17:
จขกท  หายไปไหน ?
ฮิฮิ  สงสัยหายไปในความว่างเสียแล้ว
ข้อความโดย: ดุจเม็ดทราย
« เมื่อ: สิงหาคม 28, 2012, 08:17:16 pm »


     เพียงแต่เธอรู้จักธรรมชาติแท้แห่งจิตของเธอเองเท่านั้น ซึ่งในธรรมชาตินั้นไม่มีตนเอง และผู้อื่น แล้วเธอก็จะเป็นพุทธะองค์หนึ่งจริงๆ
     เธอหยุดการปรุงเร้าความคิด และการคิดค้นในเรื่องอันว่าด้วย ความมีอยู่และความไม่มีอยู่ ยาวสั้น คนอื่นหรือตัวเอง ผู้กระทำ ผู้ถูกกระทำ เสียให้จบสิ้นเท่านั้น
เธอจะพบว่าจิตของเธอเป็นพุทธะโดยแท้จริง จิตเป็นสิ่งที่คล้ายกับความว่าง พุทธะจึงว่างนั่นเอง.
                                                                                         (อ.กตธุโร)

ว่างยังไงหรือครับ ? เห็นมีแต่ข้อความจากการปรุงแต่งเต็มไปหมด
ข้อความโดย: เงาใจ
« เมื่อ: สิงหาคม 25, 2012, 05:31:03 pm »

คนไม่มี แล้วจะมีอะไรเล่า ?
เพราะมีคน  คนจึงสร้างทุกสิ่งขึ้นมา
แล้วถ้าคนมีไม่จริง  สิ่งอื่นจะเป็นจริงได้อย่างไร ?
ข้อความโดย: แก่นไม้ไผ่
« เมื่อ: สิงหาคม 25, 2012, 04:56:12 pm »

     เพียงแต่เธอรู้จักธรรมชาติแท้แห่งจิตของเธอเองเท่านั้น ซึ่งในธรรมชาตินั้นไม่มีตนเอง และผู้อื่น แล้วเธอก็จะเป็นพุทธะองค์หนึ่งจริงๆ
     เธอหยุดการปรุงเร้าความคิด และการคิดค้นในเรื่องอันว่าด้วย ความมีอยู่และความไม่มีอยู่ ยาวสั้น คนอื่นหรือตัวเอง ผู้กระทำ ผู้ถูกกระทำ เสียให้จบสิ้นเท่านั้น
เธอจะพบว่าจิตของเธอเป็นพุทธะโดยแท้จริง จิตเป็นสิ่งที่คล้ายกับความว่าง พุทธะจึงว่างนั่นเอง.
                                                                                         (อ.กตธุโร)