ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: sithiphong
« เมื่อ: ตุลาคม 20, 2012, 10:00:23 am »

.




ศูนย์คุ้มครองผู้ใช้บริการทางการเงิน (ศคง.) ธนาคารแห่งประเทศไทย.
-http://www.bot.or.th/Thai/FinancialLiteracy/Pages/complain.aspx-
บริการตอบคำถามให้คำปรึกษาเกี่ยวกับบริการทางการเงิน รวมถึงรับเรื่องร้องเรียน
และข้อเสนอแนะต่าง ๆ โดยสามารถติดต่อได้ที่...

                                                               > สายด่วน ศคง. โทร 1213
                                                                  - เวลาทำการ วันจันทร์ - วันศุกร์ ระหว่างเวลา 08.30 - 12.00 น. และ 13.00 - 16.30
                                                                  - นอกเวลาทำการ บริการตอบรับอัตโนมัติ 24 ชั่วโมง

                                                               > เว็บไซต์ แบงก์ชาติ  www.bot.or.th  และเลือก ศูนย์คุ้มครองผู้ใช้บริการทางการเงิน

                                                               > ส่ง e-mail  ถึง ศูนย์คุ้มครองผู้ใช้บริการทางการเงิน (ศคง.) : fcc@bot.or.th

                                                               > โทรสาร (FAX) หมายเลข 0-2283-6151

                                                               > หรือ ติดต่อขอพบเจ้าหน้าที่เพื่อรับคำปรึกษา ตามที่อยู่ด้านล่างนี้ 

ศูนย์คุ้มครองผู้ใช้บริการทางการเงิน อาคาร 3 ชั้น 5
ธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงานใหญ่
273 ถนนสามเสน แขวงวัดสามพระยา
เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200

ส่วนคุ้มครองผู้ใช้บริการทางการเงิน
ธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงานภาคเหนือ
68/3 ถนนโชตนา ตำบลช้างเผือก
อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50300
หรือ สายด่วน ศคง. โทร. 1213  E- mail address: fcc@bot.or.th

ส่วนคุ้มครองผู้ใช้บริการทางการเงิน
ธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงานภาคตะวันออกเฉียงหนือ
393 ถนนศรีจันทร์ ตำบลในเมือง
อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40000
หรือ สายด่วน ศคง. โทร. 1213  E- mail address: fcc@bot.or.th

ส่วนคุ้มครองผู้ใช้บริการทางการเงิน
ธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงานภาคใต้
472 ถนนเพชรเกษม อำเภอหาดใหญ่
จังหวัดสงขลา 90110
หรือ สายด่วน ศคง. โทร. 1213  E- mail address: fcc@bot.or.th



ข้อความโดย: sithiphong
« เมื่อ: ตุลาคม 20, 2012, 09:47:14 am »

ส่วนธนาคารที่เก็บค่าธรรมเนียม หรือ ค่านับเหรียญ  ก็ต้องดูว่า  เขามีกำหนดกฎเกณฑ์ว่าอย่างไร  เช่น  หากเหรียญเกิน 2,000 บาท  ให้เก็บค่าธรรมเนียม หรือ ค่านับเหรียญ  เราก็ฝากไม่ถึงสิครับ  เราอาจจะฝากแค่ 2,000 บาท หรือ 1,900 บาท


.
ข้อความโดย: sithiphong
« เมื่อ: ตุลาคม 20, 2012, 09:44:35 am »

ในกรณีที่นำเหรียญไปฝาก  แล้วธนาคารไหน สาขาอะไร  ไม่รับฝากเงินเหรียญ  ให้จดชื่อผู้จัดการสาขา และเจ้าหน้าที่ที่แจ้งว่าไม่รับฝากเหรียญ  แล้วให้ท่านเขียนจดหมายไปที่ธนาคารแห่งประเทศไทยครับ

เหรียญก็เป็นเงินที่สามารถชำระหนี้ได้ตามกฎหมาย  หากธนาคารไหนไม่รับการฝากเหรียญ  แสดงว่า ธนาคารนั้นๆ  ไม่มีการบริการที่ดี  จะไปฝากเงินกับธนาคารนั้นๆทำไม  และต้องบอกต่อๆกันไปครับ

.
ข้อความโดย: sithiphong
« เมื่อ: ตุลาคม 20, 2012, 09:39:47 am »

สงสัยแบงก์ไม่ยอมรับฝากเงินเหรียญสลึงห้าสิบสตางค์
-http://www.dailynews.co.th/help/161244-







ไม่ทราบเหมือนกันว่าทำไมธนาคารต่าง ๆ ถึงนิยมรับฝากเงินเฉพาะที่เป็นธนบัตร ส่วนเหรียญต่าง ๆ ไมว่าเหรียญห้า เหรียญสิบ เหรียญห้าสิบสตางค์ หรือเหรียญสลึง ที่ชาวบ้านเก็บรวบรวมได้มากมายจำนวนหนึ่งนำมาฝากกับธนาคาร ซึ่งธนาคารก็ยินดีรับฝากแต่ต้องคิดค่านับสตางค์  ดูเหมือนว่าค่าของเหรียญต่าง ๆ จะมีค่าลดลงเมื่อนำไปฝากกับธนาคาร มีปัญหาเรื่องนำเหรียญไปฝากธนาคารเรื่องหนึ่งที่มีผู้ร้องเรียนมาว่า

ดิฉันได้เก็บเหรียญยี่ห้าสตางค์และห้าสิบสตางค์ไว้จำนวนมากพอสมควร นำใส่ถุงเพื่อไปฝากธนาคารพร้อมกับธนบัตรที่ธนาคารพาณิชย์แห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในห้างแห่งหนึ่งย่านลำลูกกา ปรากฏว่าพนักงานแบงก์ปฏิเสธที่จะรับฝากเหรียญ รับฝากแต่ธนบัตร ซึ่งพนักงานแนะนำดิฉันให้ไปแลกกับร้านเซเว่นแทน ทำให้ดิฉันสงสัยว่าเป็นนโยบายของธนาคารทุกแห่งหรือเปล่าที่ไม่ยอมรับฝากเหรียญสลึงและห้าสิบสตางค์ อยากให้กระทรวงการคลังช่วยชี้แจงด้วยค่ะ”

ปัญหาดังกล่าวนี้ ไม่รู้ว่าเป็นนโยบายของธนาคารแห่งประเทศไทยหรือไม่ ถ้าเป็นนโยบายแล้วก็ควรให้ธนาคารพาณิชย์ทุกแห่งทั่วประเทศ ติดประกาศบอกไว้ที่ธนาคาร ชาวบ้านจะได้ไม่เสียเวลาเก็บเงินที่เป็นเหรียญต่าง ๆ ให้เสียเวลา

http://www.dailynews.co.th/help/161244
.