ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: ดอกไม้ในที่ลับตา ~ ღ
« เมื่อ: ตุลาคม 20, 2012, 01:14:47 pm »


อย่าโกรธ !! .. เมื่อใครติเตียนพระพุทธเจ้า  : )




  :45: อย่าโกรธ!! .. เมื่อใครติเตียนพระพุทธเจ้า  : )


ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย : คนเหล่าอื่นอาจกล่าวติเตียนเรา ..

ติเตียนพระธรรม หรือติเตียนพระสงฆ์.
ท่านทั้งหลายไม่พึงผูกอาฆาต ขุ่นเคือง ไม่พอใจในบุคคลเหล่านั้น.
เพราะถ้าท่านทั้งหลายโกรธเคือง
หรือไม่พอใจในบุคคลที่กล่าวติเตียนเรา
ติเตียนพระธรรม หรือติเตียนพระสงฆ์นั้น,
อันตรายเพราะความโกรธเคืองนั้น ก็จะพึงเป็นของท่านทั้งหลายเอง.
ถ้าท่านทั้งหลายโกรธเคือง หรือไม่พอใจในบุคคลที่กล่าวติเตียนเรา
ติเตียนพระธรรม หรือติเตียนพระสงฆ์
จะรู้ได้ละหรือว่า คำกล่าวของคนเหล่าอื่นนั้น
เป็นคำกล่าวที่ดี (สุภาษิต) หรือไม่ดี (ทุพภาษิต) ?

...ไม่ทราบ พระเจ้าข้า...

...ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ท่านทั้งหลายพึงชี้แจง (คลี่คลาย) เรื่องที่ไม่เป็นจริง
ให้เห็นว่าไม่เป็นจริง ในข้อที่คนเหล่าอื่นกล่าวติเตียนเรา
ติเตียนพระธรรม หรือติเตียนพระสงฆ์ ให้เขาเห็นว่าข้อนั้นไม่จริง ข้อนั้นไม่แท้
ข้อนั้นไม่มีในพวกเรา ข้อนั้นไม่ปรากฏในพวกเรา ดังนี้...

พรหมชาลสูตร ๙/๓


อย่าดีใจ..ตื่นเต้น เมื่อใครชมเชยพระพุทธเจ้า

...ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย : คนเหล่าอื่นอาจกล่าวชมเชยเรา

ชมเชยพระธรรม หรือ ชมเชยพระสงฆ์
ท่านทั้งหลายไม่พึงแสดงความชื่นชมโสมนัส
หรือความรู้สึกตื่นเต้นในบุคคลเหล่านั้น
เพราะถ้าท่านทั้งหลายมีความชื่นชมโสมนัส
มีความตื่นเต้นในบุคคลที่กล่าวชมเชยเรา
ชมเชยพระธรรม หรือชมเชยพระสงฆ์
อันตรายเพราะเหตุนั้น ก็จะพึงเป็นของท่านทั้งหลายเอง.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ท่านทั้งหลายพึงรับรองเรื่องที่เป็นจริง ให้เห็นว่าเป็นจริง
ในข้อที่คนเหล่าอื่นกล่าวชมเชยเรา ชมเชยพระธรรม หรือชมเชยพระสงฆ์
ให้เขาเห็นว่าข้อนั้นจริง ข้อนั้นแท้
ข้อนั้นมีในพวกเรา ข้อนั้นปรากฏในพวกเรา ดังนี้...

พรหมชาลสูตร ๙/๔



คัดลอกจากหนังสือ...พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน
ย่อความจากประไตรปิฎกฉบับภาษาบาลี ๔๕ เล่ม...
โดย : คุณสุชีพ ปุญญานุภาพ

:

:

:


  :13:..ขอกราบขอบพระคุณทุกที่มาทั้งหมดจาก: หนังสือ พระไตรปิฎก "ฉบับสำหรับประชาชน" (ย่อความจากพระไตรปิกฎฉบับภาษาบาลี ๔๕ เล่ม .. โดย คุณ สุชีพ ปุญญานุภาพ และ ที่นี่ดอทคอม (ศาลาธรรม)  :19: .. มา ณ.ที่นี่ด้วยค่ะ  :07: