ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: ตุลาคม 24, 2012, 04:11:57 pm »



นำพระพุทธลักษณะมาพิจารณา ในการดับทุกข์

พระพุทธรูปเป็นตัวแทนองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า คนไทยนิยมสร้างไว้สักการบูชา รำลึกถึงพระพุทธคุณของพระองค์ ผู้สร้างมีเจตนาที่จะให้เกิดความเลื่อมใสศรัทธา จึงนำพระพุทธลักษณะมาพิจารณาเพื่อใช้ในการดับทุกข์ดังนี้

๑. พระเศียรเป็นก้นหอย คือ นิมิตหมายถึงปัญญา เราเป็นผู้ขมวดปมปัญหา(เป็นก้นหอย) ขึ้นด้วยความคิดของเราเอง ถ้าเราไม่ขมวดปม ความทุกข์ก็ไม่มี

๒. เปลวไฟบนพระเศียร คือนิมิตหมายว่า เราขมวดปมปัญหาขึ้นแล้วเราจะต้องร้อนใจ (ดังไฟสุมหัว) จึงควรเตือนใจตนว่า ถ้าสร้างปัญหาจะต้องร้อนใจ

๓. ยอดแหลมของพระเศียร คือนิมิตหมายว่า เมื่อเราเป็นทุกข์ จะต้องใช้ปัญญาเป็นอาวุธ ดังยอดแหลมคมดุจปลายหอก ของยอดพระเศียร แทงทะลุปมปัญหา และดับความร้อนลุ่มดุจเปลวไฟนั้นไปให้ได้ จึงจะมีความสงบเป็นปกติ



๔. พระเนตรที่หลบต่ำ คือ นิมิตหมายเตือนใจว่า ให้หลบตาลงต่ำมองตนเองเสียบ้าง อย่ามัวเพ่งโทษผู้อื่น อย่าคิดแต่จับผิดผู้อื่น

๕. พระนาสิก (จมูก) โด่ง คือนิมิตหมายเตือนใจว่า ต้องเข้มแข็งอดทน (ดุจสันจมูกที่โด่ง) อย่าเบื่อหน่ายท้อแท้ในชีวิต พระพุทธองค์ทรงมีพุทธลักษณะความเอาจริงเด็ดเดี่ยว อดทนเป็นเลิศจึงได้พบทางอันวิเศษที่จะดับทุกข์ได้

๖. พระโอษฐ์ยิ้มละมัย หมายถึง น้ำพระทัยอันบริสุทธิ์ มีความรักและเมตตาเพื่อนมนุษย์และสัตว์ เปี่ยมล้นจนปรากฏออกมาเป็นรอยยิ้ม เป็นเครื่องเตือนใจเราให้พยายามชำระจิตใจให้บริสุทธ์ เห็นเพื่อนมนุษย์และสัตว์ว่าเป็นเพื่อน ทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ด้วยกัน เราจะมีเตตาและรอยยิ้มได้ดุจพระองค์



๗. พระกรรณ (หู) ยาว หูยิ่งยาวก็ยิ่งหนัก จึงเป็นนิมิตเตือนใจให้เป็นคนหูหนัก อย่าหูเบาเชื่ออะไรง่ายๆ

๘. พระหัตถ์ (มือ) แบ พระพุทธรูปเกือบทุกปางจะแบพระหัตถ์ ไม่ว่าปางสมาธิ ปางห้ามญาติ ปางห้ามสมุทธ ปางประทานพร ปางรำพึง ปางรำพึง หรือปางสะดุ้งมาร พระหัตถ์จะแบ ไม่กำพระหัตถ์ เป็นนิมิตรหมายเตือนใจเราให้ปล่อยสละว่างเสียบ้าง เพราะยิ่งกำเข้ามาหาตัวมากก็ยิ่งทุกข์มาก ถ้าปล่อยวางได้ทุกข์ก็จะน้อยลง

๙. นิ้วพระบาทเสมอกัน เราใช้เท้าในการก้าวเดิน เท้าจะเป็นผู้พาตัวเราไป เปรียบเสมือนการก้าวเดินของจิต จะต้องค่อยประคองจิตให้สม่ำเสมอดุจนิ้วพระบาทที่เสมอกัน อย่าหวั่นไหวด้วยรักด้วยชัง ใช้จิตนำกายให้ก้าวไปสู่แต่สิ่งที่ดีงาม

   
พระพุทธรูปปางโปรดสัตว์ (preaching หรือ preach creature)
-http://www.facebook.com/ben2495