ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: พฤศจิกายน 10, 2012, 08:39:47 pm »



           

ส่องทาง สว่างใจ
"แสงส่องใจ"
พระธรรมเทศนา โดย สมเด็จพระญาณสังวร
สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก
๓ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๙

"อันความคิดและสติปัญญาของบุถุชนเราแตกต่างจากของพระพุทธเจ้าอย่างหาคำมาอธิบายให้ถูกไม่ได้ ดังนั้นจึงมีความตรงกันข้ามกันอยู่ในแทบทุกเรื่อง ที่เป็นความตรัสรู้และที่เป็นความคิดเห็นของเราบุถุชนทั้งหลาย เป็นต้นในความสุขและความทุกข์ ที่เราเข้าใจว่าเป็นสุขก็ทรงแสดงว่าไม่น่าใคร่ไม่น่าปรารถนาพอใจ เพราะที่เราเข้าใจว่าเป็นสิ่งที่จะทำให้เกิดสุขก็ทรงแสดงว่าเป็นสิ่งที่จะนำให้เกิดความทุกข์ ดังนี้เป็นต้น จึงสมควรที่จะใช้วิธีบริหารจิตโดยตรงคือ โดยยอมเชื่อ ว่าไม่ว่าในเรื่องใดสิ่งใดทั้งนั้น ถ้าความคิดความเห็นของเราผิดจากพระพุทธเจ้าแล้ว เราเป็นฝ่ายผิด ต้องแก้ไขให้ถูกตามของพระพุทธเจ้าให้เต็มสติปัญญาความสามารถ....

ความโลภ ความโกรธ ความหลง นั้นเปรียบได้กับสัตว์ร้ายหรือห้วงเหว ที่มีอยู่เต็มตามทางแห่งชีวิตของทุกคน ถ้าเราเดินไปตามทางที่มีประทีปส่องสว่าง คือทางที่มีคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าประกาศบอกอยู่ตลอดเวลา ว่านั่นคือสัตว์ร้าย ให้หลีกเลี่ยงด้วยการทำเช่นนั้นเช่นนี้ หรือนั่นคือเหว ให้หลีกให้พ้นโดยการเลี่ยงไปทางนั้นทางนี้ เหล่านี้เป็นต้น เมื่อเลือกเดินทางของพระพุทธเจ้าแล้ว เรียกว่ามีศรัทธาในพระพุทธเจ้า จึงควรใช้ศรัทธาให้ถูกต้องเต็มกำลังความสามารถ อย่าท้อแท้ลังเล ทรงสอนให้หลีกเลี่ยงอะไรควรตั้งใจปฏิบัติตาม ทรงสอนให้ทำอย่างไรควรตั้งใจทำอย่างนั้น ที่แน่นอนที่สุดคือ ทรงสอนให้ไม่ทำบาปไม่ทำชั่วทั้งปวง ให้ทำบุญทำกุศลทำคุณงามความดีทุกอย่าง และให้ทำใจให้ผ่องใส คือไม่ให้ขุ่นมัวมืดมิดด้วยอำนาจของกิเลสคือโลภโกรธหลง เมื่อมุ่งมาบริหารจิต ก็ต้องถือว่าเดินอยู่บนทางที่ทรงชูประทีปให้เห็นสว่างชัดเจน เป็นแสงส่องทาง  หรือแสงส่องใจนั่นเอง.



"แสงส่องใจ"
พระธรรมเทศนา โดย สมเด็จพระญาณสังวร
สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก
๓ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๙
-http://board.palungjit.com/f14/ส่-อ-ง-ท-า-ง-ส-ว่-า-ง-ใ-จ-63764.html