ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: ธันวาคม 10, 2012, 09:19:46 pm »

 :13: อนุโมทนาครับ
ขอบคุณครับพี่แป๋ม
ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: ธันวาคม 08, 2012, 10:05:50 pm »



         

ความดับแห่ง "ตัวตน-ของตน" ดีหรือไม่ดีอย่างไร

ผู้ที่ได้ฟังเรื่องนี้แล้วยังไม่เข้าใจ หรือเข้าใจหรือครึ่งๆ กลางๆ อาจเกิดความเข้าใจผิดอย่างแรง อาจเห็นว่าความดับแห่ง "ตัวตน-ของตน" นี้เป็นโทษไปก็ได้ คือเขาเข้าใจผิดไปว่าถ้าดับความรู้สึกว่ามี "ตัวตน-ของตน" เสียแล้ว คนเราก็จะไม่ทำอะไร จะไม่ยอมพัฒนาประเทศชาติ จะไม่ยอมทำประโยชน์ให้แก่สังคม เพราะว่า ไม่มีอะไรที่เป็นเครื่องกระตุ้นให้ทำ มีแต่ความรู้สึกที่อยากจะอยู่เฉยๆ เป็นก้อนดินก้อนหินไป

ความหลงผิดเช่นนี้เกิดขึ้น จากการที่เขาไม่เข้าใจอย่างถูกต้อง ในเรื่องของความดับของ "ตัวตน-ของตน"

และอีกอย่างหนึ่งนั้นเขามีความเคยชินเป็นอย่างยิ่งกับความรู้สึกว่าเป็น "ตัวตน-ของตน" เมื่อเขามีความรู้สึกเป็น "ตัวตน-ของตน" ขึ้นมา เขาก็รู้สึกเป็นสุข หรือเป็นความเอร็ดอร่อยในทางจิตใจ จนกระทั่งมีความติดใจหลงใหลเอาทีเดียว

และยิ่งเป็นอย่างนี้มากขึ้นตามอายุที่ล่วงไปๆ เขาจึงเป็นเกลอกับ "ตัวตน-ของตน" อย่างที่จะขาดเสียไม่ได้ และกลายเป็นปุถุชนคนหนาไปด้วยกิเลส คือในลักษณะที่ "เห็นงูเป็นปลา" ไปเสียตะพึด จึงอยู่ในฐานะลำบากอย่างยิ่ง ที่จะทำความเข้าใจในเรื่องความดับไปของ "ตัวตน-ของตน"...

ทีนี้ ก็มาถึงบุคคลอีกประเภทหนึ่ง ซึ่งเรียกว่า ปุถุชนชั้นดี หรือ กัลยาณปุถุชน หมายถึงบุคคลที่มีเครื่องหุ้มห่อตาไม่หนาจนเกินไป มีผงในดวงตาไม่มาก เขาจึงสามารถล้างผงออกจากนัยน์ตาของเขาได้หมด และผงที่กล่าวนี้ก็คือ ความรู้สึกว่าเป็น "ตัวตน-ของตน" อีกนั่นเอง

พวกที่มีผงในดวงตาเพียงเล็กน้อยนี้ หมายถึง คนบางคนที่ได้รับการศึกษาทางธรรมที่ถูกต้องมาแต่แรก รวมทั้งเป็นผู้มีอุปนิสัยดี ไม่หัวดื้อรั้นอวดฉลาด เขามีสติปัญญาตามธรรมชาติชนิดที่อาจรู้สิ่งทั้งหลายทั้งปวงตามที่เป็นจริง เป็นผู้เตรียมพร้อมที่จะมีความรู้ยิ่งเห็นจริงอยู่เสมอ พอได้รับคำแนะนำชี้แจงเรื่องโทษของ "ตัวตน-ของตน" เขาก็จับฉวยเอาได้ทันที

รวมความว่า เขาจะเข้าใจอย่างเด็ดขาดลงไปว่า การดับเสียได้ซึ่ง "ตัวตน-ของตน" นั้น จะทำให้คนเราทำอะไรได้มากขึ้น ทำได้ดียิ่งขึ้น ทำอะไรไม่ผิดพลาด เพราะไม่มีความเห็นแก่ตัว และในที่สุด สังคมจะประสบสันติสุขที่แท้จริง การพัฒนาประเทศชาติก็จะได้ผล และจะไม่มีคอรัปชั่นมากมายอย่างที่เป็นอยู่ในขณะนี้

พุทธทาสภิกขุ


-http://www.facebook.com/buddhadasaarchives