ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: มกราคม 17, 2013, 12:33:30 pm »



               

ลักษณะของผู้ที่ง่ายต่อการเข้าสมาธิ
ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่ประกอบด้วยธรรม ๕ ประการ
เป็นผู้ ไม่ควร เพื่อเข้าถึงสัมมาสมาธิ แล้วแลอยู่.
๕ ประการ อย่างไรเล่า ?
ภิกษุ ท. ! ๕ ประการ คือ ภิกษุในกรณีนี้

(๑) เป็นผู้ ไม่อดทนต่อรูปทั้งหลาย
(๒) ไม่อดทนต่อเสียงทั้งหลาย
(๓) ไม่อดทนต่อกลิ่นทั้งหลาย
(๔) ไม่อดทนต่อรสทั้งหลาย
(๕) ไม่อดทนต่อโผฎฐัพพะทั้งหลาย

ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่ประกอบด้วยธรรม ๕ ประการ
เหล่านี้แล เป็นผู้ ไม่ควร เพื่อเข้าถึงสัมมาสมาธิ แล้วแลอยู่.

ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่ประกอบด้วย ธรรม ๕ ประการ
เป็นผู้ ควร เพื่อเข้าถึงสัมมาสมาธิ แล้วแลอยู่.
๕ ประการ อย่างไรเล่า ?

ภิกษุ ท. ! ๕ ประการ คือ ภิกษุในกรณีนี้
(๑) เป็นผู้อดทนต่อรูป ทั้งหลาย
(๒) อดทนต่อเสียง ทั้งหลาย
(๓) อดทนต่อกลิ่น ทั้งหลาย
(๔) อดทนต่อรส ทั้งหลาย
(๕) อดทนต่อโผฎฐัพพะ ทั้งหลาย

ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่ประกอบด้วยธรรม ๕ ประการ
เหล่านี้แล เป็นผู้ ควร เพื่อเข้าถึงสัมมาสมาธิ แล้วแลอยู่.

ปญฺจก. อํ. ๒๒/๑๕๕ /๑๓๓.


-http://www.oknation.net/blog/nun2504/2012/03/18/entry-4