ตอบ

ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

ตัวหนา ตัวเอียง ตัวขีดเส้นใต้ ตัวมีขีดกลาง | จัดย่อหน้าอิสระ จัดย่อหน้าชิดซ้าย จัดย่อหน้ากึ่งกลาง จัดย่อหน้าชิดขวา
ใส่แฟลช ใส่รูป ใส่ไฮเปอร์ลิ้งค์ ใส่อีเมล์ ใส่ลิ้งค์ FTP | ตัวเรืองแสง ตัวมีเงา ตัวอักษรวิ่ง | ตัวยก ตัวห้อย ตัวพิมพ์ดีด | ใส่ตาราง ใส่โค้ด ใส่การอ้างถึงคำพูด | Insert Unordered List Insert Ordered List เส้นขวาง Insert Progress Bar | Remove Formatting Toggle View
Verification:
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: มกราคม 31, 2013, 07:46:26 am »




มัชฌิมาปฏิปทา
ในทาง พุทธศาสนา หมายถึง ทางสายกลาง
คือ การไม่ยึดถือสุดทางทั้ง 2 ได้แก่
อัตตกิล มถานุโยค คือ การประกอบ ตนเองให้ ลำบากเกินไป
กามสุขัล ลิกานุโยค คือ การพัวพันในกาม ใน ความสบาย
ที่ไม่ใช่ทางสายกลาง
คือ สักแต่ว่ากลาง โดยเป็น แต่เพียงโวหารไม่ได้กำหนดวิธีที่ถูกต้องไว้เลย
 
แต่ พระพุทธองเจ้า ได้ทรงกำหนด หลัก ทางสายกลางนี้ไว้อย่างชัดเจน
คือ อริยมรรคมีองค์ 8 เมื่อ ย่นย่อแล้ว เรียกว่า "ไตรสิกขา" ได้แก่ ศีล สมาธิ ปัญญา
มัชฌิมาปฏิปทา หมายถึง การปฏิบัติสายกลาง ซึ่ง
หลักปฏิบัติ ย่อมต้อง คู่กับ หลักการ อันเป็น สายกลางเช่นกัน
โดยที่หลักการอันเป็น สายกลางนี้เรียกว่า มัชเฌนธรรม หรือหลักการที่ว่าด้วย
ความสมดุล (สมตา)อันเป็น ลักษณะอันเป็น สากลของ
สรรพสิ่ง อย่างหนึ่ง เช่นเดียวกับ ไตรลักษณ์ อิทัปปัจจยตา สุญญตา ตถตา
อันเป็น กฎธรรมชาติ อันเป็น หลักการสากลของสรรพสิ่ง เหมือนกัน อย่างหนึ่ง

มัชฌิมาปฏิปทา ใช้ใน ความหมายถึง ความพอเพียง หรือ การใช้ชีวิต ที่ถูกต้อง
ตามหลัก สัมมาอาชีวะ คือใช้ ชีวิตอย่าง รู้ประมาณในการบริโภค
คือใช้ปัจจัยสี่เท่าที่จำเป็น ไม่ใช่ใช้ตามความ ต้องการเพื่อ สนองความอยาก
มัชฌิมาปฏิปทา แปลว่า ทางสายกลาง หมายถึง ทางปฏิบัติที่ไม่สุดโต่งไปใน ทาง
อุดมการณ์ ใด อุดมการณ์หนึ่งเกินไป

มุ่งเน้นใช้ปัญญา ในการแก้ปัญหา มัก ไม่ยืดถือ หลักการอย่างงมงาย
มัชฌิมาปฏิปทา ในทางจิตวิญญาณ หมายถึงสติ
สติ
เป็นความสมสมดุลทางจิต อย่างหนึ่ง คือสมดุล ระหว่าง ศรัทธาและปัญญา
สติจะ อยู่ตรงกลาง ระหว่าง อารมณ์ และ เหตุผล ถ้าความคิดเปรียบเป็นน้ำไหล
สมาธิเปรียบ เป็นน้ำนิ่ง สติจะเป็น น้ำไหลนิ่ง คือ สติเป็น ทางสายกลาง ทางจิตวิญญาณ
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


-http://www.facebook.com/pages/พระพุทธเจ้า/