ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: กุมภาพันธ์ 12, 2013, 09:45:09 pm »





จะไปเที่ยวแสวงหา สถานที่สงบๆ เงียบ นั่งภาวนา นั้นหายากนะ
.................... สู้เราย้อนมาจัดการจิตใจเราให้สงบดีกว่า .....
ขณะปฏิบัติ ฝึกสะสมสติ ภาวนา ใครเขาจะเปิดเพลงดัง พูดเสียงดัง
ก็ "ช่างเขา" เราต้อง "ขอบคุณ" เขาด้วยซ้ำ ที่มาเป็น "แบบฝึกหัด" ให้ฝึก ให้อภัย
ได้ยินเฉยๆ (สักแต่ว่า) อย่าไปมัวตำหนิพวกเขาเลย อย่านึกว่าจะมีที่ใดสงบจริงๆหรอก
.... มันอยู่ที่ เรา "จับ" ความคิดจร ไม่ให้ป่วนจิต ได้ทันหรือเปล่า ...
ไม่มีพวกเขามารบกวน เราก็ไม่ได้ประเมินผลตัวเราเนอะ ว่ากำลังสติมากพอหรือยัง ...
                                    จงอย่าติดดี อย่าพิพากษาตำหนิเพ่งโทษเขาเลย
                                                              วรภัทร์ ภู่เจริญ

ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: กุมภาพันธ์ 12, 2013, 02:05:44 pm »



ป่วย!!!
ใครป่วยอ่านตรงนี้...

ความเจ็บป่วยของมนุษย์ มี 2 อย่าง คือ
.......1.โรคทางกาย.....อาการจะแสดงออกทางกายภาพ......สามารถตรวจรักษาพิสูจน์ได้อย่างเป็นรูปธรรม...แม้แต่ความหิว ความหนาวร้อน..ความเจ็บปวด.. ไม่เว้นแม้ความเสื่อมแห่งวัย....ดูแลป้องกัน - ชลออาการได้ด้วยโภชนาการ...การเป็นอยู่ที่ถูกสุขลักษณะทางธรรมชาติที่น้อยความปรุงแต่ง....โรคทางกายจะหายได้สมบูรณ์เมื่อธาตุขันธ์แตกดับ
........2.โรคทางใจ....อาการของผู้เป็นโรคนี้....เป็นผู้ที่ต้องอาศัย วัตถุ แสง สี เสียง มาบำบัดความรู้สึกนึกคิด..แม้กระทั่งความต้องการให้คนมาสนใจ....อยู่กับความสงบไม่ได้....ชอบแสวงหาชอบดิ้นรนไขว่คว้าหาอะไรทำ...เป็นไปตามกิเลสตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา...การดูแลรักษาต้องอาศัยธรรมโอสถ.....ผู้เป็นโรคนี้หากไม่รักษาอาการจะสะสมข้ามภพชาติ....



*****ข้อควรรู้สำหรับผู้มีอาการป่วย
1.ต้องรู้ตัวว่าตนเองป่วย
2.ต้องมีความต้องการที่จะหายจากโรค
3.ต้องไปพบผู้เชี่ยวชาญมาทำการรักษา
4.ต้องยอมรับเงื่อนไขในการรักษา
5.ต้องไม่วิ่งไปหาเหตุแห่งโรคนั้นๆอีก
:อกาลิโก แปลว่า ไม่ประกอบด้วยกาล
**************



สุขจากความสงบ........
คนคิดว่าพอหมดกิเลสแล้ว หรือกิเลสในใจเบาบางลงไป....ชีวิตน่าจะจืดชืด หมดรสชาดขาดชีวิตชีวา.......เมื่อหมดความทะยานอยาก ก็น่าจะหมดความสุขไปด้วย....ความอยากสร้างสุขได้ในระดับหนึ่งและต้องคอยหาสิ่งเร้ามากระตุ้นอยู่เสมอ....เราจึงต้องไล่ติดตามกิเลสหรือความอยากอยู่ตลอดเวลา.....ความสุขจึงเสมือนเงาที่เราวิ่งตาม........เคยไหมที่เรารู้สึกรำคาญเสียงต่างที่อยู่รอบตัวเราเสียงนั้นทำให้เกิดความสุขในช่วงแรกเมื่อเวลาผ่านพ้นไปเราเริ่มเบื่อรำคาญ....เราก็ปลีกตัวออกมาจากเสียงรบกวนนั้น....ออกมาอยู่ที่เงียบๆ.....และพบว่าความเงียบให้ความสุขกว่าเสียงดังกล่าว....นั่นแหละปฐมบทของสุขในระดับหยาบๆ หากเห็นสุขที่ยิ่งกว่านั้น....ไม่มีใครเลยที่อยากปฏิเสธ  :อกาลิโก แปลว่า ไม่ประกอบด้วยกาล



แต่ให้ระวัง เมื่อเกิดความสงบขึ้นมา
แล้วมีความสบายเกิดขึ้นมาก
ระวังมันจะติดสุข ติดสบาย แล้วเลยยึดมั่นถือมั่น
ฉะนั้น ถ้าหากเกิดความคิดขึ้นมา
ให้พิจารณาว่า ความสุขนี้ไม่เที่ยง
ความสบายนี้ไม่เที่ยง หรือความทุกข์ก็ไม่เที่ยง
ความที่เป็นอย่างนั้นๆ มันก็ไม่เที่ยง
จึงอย่าไปยึดมั่นถือมั่นมันเลย...

พระโพธิญาณเถร (หลวงพ่อชา สุภัทโท)
วัดหนองป่าพง อ.วารินชำราบ จ.อุบลราชธานี
หนังสือ ๔๘ พระธรรมเทศนา หน้า ๑๐๖


ความสุขจากความสงบ
แนวทางของโลกสอนให้มุ่งเน้น แสวงหาวัตถุทรัพย์ เพื่อตอบสนองความต้องการในขั้นมูลฐาน คือ ข้าว ผ้า ยา บ้าน และมีปัจจัยตามมา คือรถ โทรศัพท์ คอมฯ สารพัด เรื่อยไปจนหมดเรื่องวัตถุ สิ่งที่ทำต่อมาคือการแสวงหาชื่อเสียง เกียรติยศ จากปริมาณทรัพย์ เมื่อการใช้นโยบายนี้ในการพัฒนาชีวิต ทำให้ต้องเติมเต็มในส่วนที่ขาดในแต่ละคน ไม่มีวันจบสิ้น ต้องใช้ทรัพยากรทางธรรมชาติมหาศาล และก็จะพบว่าการแก้ปัญหาด้วยวิธีดังกล่าวเป็นการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ชั่วคราว และก็ทำเรื่อยไปไม่มีที่สิ้นสุด

หากมามองอีกมุมหนึ่ง คือการมุ่งเน้นในการลดการบริโภค ลดสิ่งที่เป็นไปเพื่อกองกิเลส การใช้ทรัพย์กรก็จะคุ้มค่า ทรัพย์ยากรที่หายไปก็สามารถเพิ่มพูนได้ทันกับความต้องการของคนเรา เพราะในชีวิตคนๆหนึ่ง ใช้ทรัพย์ยากรเพื่อให้ตนเองมีความสุขไม่มากนัก....เพราะมนุษย์ส่วนใหญ่ยังไม่สามารถค้นพบความสุขจากความสงบ  :อกาลิโก แปลว่า ไม่ประกอบด้วยกาล


-http://www.facebook.com/AKALIGO.com.thailand