ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: เมษายน 12, 2013, 12:14:40 am »




           'Listen with your eyes'. by Sipo Liimatainen.

กฏแห่งกรรม...
อิทัปปัจจยตา ปฏิจจสมุปปาทปาฐะ

สวัสดีครับ คุณวินทร์
คุณวินทร์เชื่อในกฏแห่งกรรมไหม ขอโทษนะครับ ถ้าคุณวินทร์ได้อธิบายเรื่องนี้ไว้ในหนังสือเรื่องใดเรื่องหนึ่งแล้ว

ผมได้อ่านเรื่อง ฌาน ของคุณทมยันตี ถึงแม้เป็นธรรมะที่แฝงไว้ในนิยาย แต่มีข้อความหนึ่งน่าสนใจ ที่ตัวละครในเรื่องบอกว่า กฏแห่งกรรม ก็เหมือนกฏแรงเหวี่ยงของวัตถุของเซอร์ไอแซค นิวตัน ที่ว่าเราเหวี่ยงอะไรออกไป จะกลับมาสู่ตัวเองในน้ำหนักเท่ากัน ตลอดไป น่าคิดมาก แต่ถ้ามีจริง ทำไมคนบางคนทำซั่วมากถึงเห็นผลช้าจริง

ขอบคุณครับ
...Patt
****************************



ตอบ...
ผมเขียนเรื่องกรรมในหนังสือ ปลาที่ว่ายนอกสนามฟุตบอล รวมทั้งนิยายวิทยาศาสตร์บางเรื่อง ลองอ่านรายละเอียดดูได้

โดยรวมๆ กรรมในความหมายที่เป็นวิทยาศาสตร์ที่สุดแล้วก็คือ cause-effect ก็คือหลักอิทัปปัจจยตา ของพุทธศาสนา ซึ่งสรุปความเป็นไปของมนุษย์และสัตว์โลกทั้งหลายในจักรวาล ที่อยู่ในหลัก "เมื่อสิ่งนี้มีอยู่ สิ่งนี้ย่อมมี เพราะความเกิดขึ้นแห่งสิ่งนี้ สิ่งนี้ย่อมเกิดขึ้น เมื่อสิ่งนี้ไม่มี สิ่งนี้ย่อมไม่มี เพราะความดับไปแห่งสิ่งนี้ สิ่งนี้ย่อมดับไป"

พูดง่ายๆ ก็คือ เหตุ 1 ทำให้เกิดผล 1, ผล 1 ทำให้เกิดเหตุ 2 เหตุ 2 ทำให้เกิดผล 2, ผล 2 ทำให้เกิดเหตุ 3 ...ไล่ไปเรื่อยๆ ดังนี้ นี่ก็คือ 'กรรม'
บางครั้งผลที่เกิดเป็นผลร้ายต่อคนที่ทำเรื่องร้าย บางคนจึงเรียกว่า "กรรมสนอง" เพื่อความสะใจ แต่เหตุและผลไม่เคยมีหลักแน่นอน มันเปลี่ยนแปลงไปตามปัจจัย

ดังนั้น คนทำเรื่องไม่ดีก็ไม่จำเป็นต้องรับกรรมไม่ดี หรือคนทำดีก็ไม่จำเป็นต้องรับกรรมดี เพราะในจักรวาล ไม่มี 'ดี' หรือ 'ไม่ดี'
อย่างที่พุทธว่า "มันเป็นอย่างนี้เอง" (suchness)



คุยกับวินทร์, 10 ธันวาคม 2554
โดย: โลกทรรศนะ


- http://www.facebook.com/groups/359416604075658/644020322281950/?notif_t=group_activity