ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: มิถุนายน 01, 2013, 02:04:49 pm »



                 

อะไร คือ กรรมเก่า และ กรรมใหม่
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! เราจัก แสดงซึ่ง กรรมทั้งหลาย ทั้ง
ใหม่และเก่า (นวปุราณกัมม) กัมมนิโรธ และ
กัมมนิโรธ คามินีปฏิปทา. .....

ภิกษุทั้งหลาย.กรรมเก่า (ปุราณกัมม) เป็นอย่างไรเล่า ?
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! จักษุ (ตา) โสตะ (หู) ฆานะ
(จมูก) ชิวหา (ลิ้น) กายะ (กาย) มนะ (ใจ)
อันเธอ
ทั้งหลาย พึงเห็นว่า เป็นปุราณกัมม (กรรมเก่า)
อภิสังขตะ (อันปัจจัย ปรุงแต่งขึ้น)
อภิสัญเจตยิตะ (อันปัจจัย ทำให้เกิด ความรู้สึกขึ้น)
เวทนียะ (มีความรู้สึกต่อ อารมณ์ได้).
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! นี้เรียกว่า กรรมเก่า.

ภิกษุ ทั้งหลาย. !กรรมใหม่ (นวกัมม) เป็นอย่างไรเล่า ?
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! ข้อที่บุคคลกระทำ กรรมด้วยกาย
ด้วยวาจา ด้วยใจ ในกาลบัดนี้ อันใด, อันนี้เรียกว่า
กรรมใหม่

ภิกษุ ทั้งหลาย. ! กัมมนิโรธ (ความดับแห่งกรรม) เป็น
อย่างไรเล่า ?
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! ข้อที่บุคคลถูกต้องวิมุตติ เพราะ
ความดับแห่งกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม อันใด, อันนี้
เรียกว่า กัมมนิโรธ.


ภิกษุ ทั้งหลาย. ! กัมมนิโรธคามินีปฏิปทา (ข้อปฏิบัติ
ให้ถึง ความดับแห่งกรรม)
เป็นอย่างไรเล่า ?
กัมมนิโรธคา มินีปฏิปทานั้น คือ อริยอัฏฐังคิก มรรค
(อริยมรรคมีองค์แปด) นี้นั่นเอง ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ (ความเห็นชอบ)
สัมมาสังกัปปะ (ความดำริชอบ) สัมมาวาจา (การพูดจาชอบ)
สัมมากัมมันตะ (การทำการงานชอบ) สัมมาอาชีวะ (การเลี้ยงชีวิตชอบ)
สัมมาวายามะ (ความ พากเพียรชอบ)
สัมมาสติ (ความระลึกชอบ) สัมมาสมาธิ (ความตั้งใจมั่นชอบ)
.
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! นี้เรียกว่า กัมมนิโรธคา มินีปฏิปทา.

ภิกษุ ทั้งหลาย. ! ด้วยประการ ดังนี้แล (เป็นอันว่า) กรรมเก่า เราได้แสดง
แล้วแก่ เธอทั้งหลาย กรรมใหม่ เราก็แสดงแล้ว, กัมมนิโรธ เราก็ได้แสดงแล้ว,
กัมมนิโรธคามินีปฏิปทา เราก็ได้แสดงแล้ว.
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! กิจใด ที่ศาสดาผู้เอ็นดู แสวงหาประโยชน์เกื้อกูล
อาศัยความเอ็นดูแล้ว จะพึงทำแก่สาวก ทั้งหลาย, กิจนั้น เราได้ทำแล้วแก่พวกเธอ.
ภิกษุ ทั้งหลาย. ! นั่นโคนไม้, นั่นเรือนว่าง. พวกเธอ
จงเพียร เผากิเลส, อย่าได้ประมาท, อย่าเป็นผู้ที่ต้องร้อนใจ ในภายหลังเลย.
นี่แล เป็นวาจา เครื่องพร่ำ สอนของเรา แก่เธอทั้งหลาย.

สฬา. สํ. ๑๘/๑๖๖/๒๒๗ - ๒๓๑.


                    >>> F/B pages/พระพุทธเจ้า/