ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: กรกฎาคม 21, 2013, 02:24:52 pm »





พระธรรม หมายถึงธรรมะซึ่งพระพุทธเจ้าทรงค้นพบและนำออกเผยแผ่ หรือคำสอนของพระพุทธเจ้า เกี่ยวกับความจริงตามธรรมชาติของทุกข์และวิธีการดับทุกข์ ธรรมะของพระพุทธเจ้านั้นแต่เริ่มสืบทอดกันด้วยวิธีท่องจำแบบปากต่อปาก เรียกว่า "มุขปาฐะ" สมัยต่อมาจึงได้มีการบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร คัมภีร์ที่บันทึกพระธรรมของพระพุทธเจ้านั้น เรียกว่า พระไตรปิฎก และยังมีคัมภีร์อื่นๆ ที่แต่งภายหลังเพื่อขยายความอีก ได้แก่ อรรถกถา ฎีกา อนุฎีกา ตามลำดับ
ธรรมที่พระพุทธเจ้าทรงค้นพบนั้น เป็นสิ่งที่มีอยู่แต่เดิมแล้ว ไม่ได้เกิดขึ้นพร้อมพระพุทธองค์ แต่ทรงเป็นผู้ค้นพบแล้วนำมาประกาศ อาจพอกล่าวได้ว่าการเรียนรู้พระธรรม ก็คือการเรียนรู้ธรรมดาโลก และเรียนรู้สิ่งที่เป็นปกติที่มีบ่อเกิดที่มาว่ามาอย่างไร เป็นไปได้อย่างไร


พระพุทธธรรมนั้นมีลักษณะสำคัญอยู่ 6 อย่างคือ:
สวากขาโต (Pali: Svakkhato). พระธรรมไม่ใช้ปรัชญาที่ปรุงแต่งขึ้น แต่เป็นกฎธรรมชาติที่พระพุทธเจ้าท่านวิเคราะห์, สรุป, และอธิบาย ออกมาอย่างเที่ยงตรง ดังนั้นจึงเป็นคุณทั้งจุดเริ่มต้น--ศีล (Sīla หลักการของความถูกต้อง), เป็นคุณทั้งตอนกลาง--สมาธิ (Samadhi ความมุ่งมั่นจดจ่อ) และ เป็นคุณทั้งตอนปลาย--ปัญญา (Pańña — ความเฉลียดฉลาด การรู้คิด การไตร่ตรอง ความรู้ซึ้ง).

สันทิฏฐิโก (Pali: Sanditthiko). พระธรรม สามารถถูกทดสอบ/ตรวจสอบได้ด้วยการปฏิบัติ ดังนั้นผู้ที่ปฏิบัติจะเห็นผลได้ด้วยตนเอง

อะกาลิโก (Pali: Akāliko). พระธรรม นั้นมีคุณค่า และผลของการปฏิบัติสามารถรับรู้ได้ โดยไม่จำกัดกาลเวลา (พระธรรม มีคุณประโยชน์ 2,500 ปีก่อน มีคุณประโยชน์ในปัจจุบัน และ จะยังมีคุณประโยชน์ในอนาคต)

เอหิปัสสิโก (Pali: Ehipassiko). พระธรรม นั้นมีคุณค่าไม่จำกัดกับบุคคล สามารถปฏิบัติและรับรู้ผลได้ทุกๆผู้คน (พระธรรม มีคุณประโยชน์กับผู้ปฏิบัติ ไม่ว่าผู้ปฏิบัติจะเป็นหญิง เป็นชาย เกิดในชาติตระกูลใด มีสถานะเป็นอย่างไร)

โอปะนะยิโก (Pali: Opāneyiko). พระธรรม นั้นปฏิบัติได้ และดังนั้น ควรนำมาปฏิบัติเพื่อประโยชน์ของตนเอง (พระธรรม เป็นหลักการที่นำมาปฏิบัติได้ ไม่ได้ยากเกินไป)

ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วัญญูหิติ (Pali: Paccattam veditabbo viññūhi). พระธรรมนั้น จะรู้แจ้งได้ก็เฉพาะตนผู้ปฏิบัติเองจนรู้แจ้ง (อริยะ Pali: ariyas) ดังนั้นเพื่อเข้าใจพระธรรมอย่างแท้จริง จึงควรปฏิบัติเอง (การอ่านหรือฟังธรรมจากอริยะก็ไม่อาจทำให้เข้าใจแจ้งได้ หากไม่นำพระธรรมไปปฏิบัติ)

การปฏิบัติพระธรรมจะนำมาซึ่ง ความสงบ และ ความสุข แก่ตนผู้ปฏิบัติ ดังนั้นจึงเป็นความรับผิดชอบของตนเองในการปฏิบัติพระธรรม


F/B/pages/พระพุทธเจ้า/