ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: สิงหาคม 23, 2013, 09:40:22 pm »




..... ที่มาแห่งพระสูตร ธรรมทั้งสองนี้ได้ชื่อว่า “ธรรมฝ่ายขาว” ซึ่งพระองค์ทรงแสดงแก่ภิกษุทั้งหลาย ว่า สุกกธรรม ๒ อย่างนี้ คุ้มครองโลก จึงยังคงทำให้โลกมีคำว่า “มารดา น้า ป้า ภรรยาของอาจารย์หรือภรรยาของครู โลกจึงไม่ถึงความสำส่อนกันเหมือนพวกแกะ แพะ ไก่ หมู สุนัขบ้าน สุนัขจิ้งจอก”
...
..... เหตุให้เกิดหิริและโอตตัปปะ หิริเกิดขึ้นโดยอาศัยเหตุให้เกิดความละอาย ดังนี้
..... “นึกถึงชาติ” เช่น นึกว่า ชื่อว่าการกระทำความชั่วนี้ ไม่ใช่การกระทำของคนผู้มีชาติเจริญ แต่เป็นการกระทำของผู้มีชาติต่ำ ผู้เจริญเช่นเราไม่ควรกระทำกรรมนี้เลย คิดได้ดังนี้แล้ว งดเว้นบาปได้ ชื่อว่า หิริเกิดขึ้นแล้ว
..... “นึกถึงวัย” เช่นนึกว่า ชื่อว่า การกระทำความชั่วนี้ เป็นกรรมที่คนหนุ่มสาวกระทำ คนที่ตั้งอยู่ในวัยสูงเช่นเรา ไม่ควรทำกรรมนี้ คิดได้ดังนี้แล้วงดเว้นบาปได้
..... “นึกถึงความเป็นผู้กล้า” เช่นนึกว่า ชื่อว่าการกระทำความชั่วนี้ เป็นการกระทำของผู้ที่อ่อนแอ คนที่แข็งแรงสมบูรณ์เช่นเราไม่ควรทำกรรมนี้
..... “นึกถึงความเป็นผู้คงแก่เรียน” เช่นนึกว่า การกระทำความชั่วนี้เป็นการกระทำของอันธพาล มิิใช่การกระทำของบัณฑิตผู้คงแก่เรียนเช่นเรา
..... “นึกถึงสถานะ” เช่นนึกว่า การกระทำความชั่วนี้ เป็นการกระทำของโจร มิใช่การกระทำของเราผู้เป็นครูผู้สอนคน
..... “นึกถึงความเป็นทายาทผู้รับมรดก” เช่นนึกว่า ชื่อว่ากระทำความชั่วนี้ เป็นการกระทำของผู้ไร้ความมั่งคงทางทรัพย์สมบัติ มิใช่การกระทำของเราที่จะเป็นผู้รับมรดก
..... “นึกถึงพระศาสดา” เช่นนึกว่า ชื่อว่าการกระทำความชั่วนี้ เป็นการกระทำของผู้ที่ไม่เคารพเชื่อฟังพระพุทธเจ้า มิใช่การกระทำของเราผู้เคารพพระศาสดา เราไม่ควรทำกรรมนี้
....... “นึกถึงการประพฤติพรหมจรรย์” เช่นนึกว่า ชื่อว่าการกระทำความชั่วนี้ เป็นการกระทำของผู้ไม่มีแก่นสาร ผู้หวังประพฤติอยู่ในพรหมจรรย์เช่นเรา ไม่ควรกระทำกรรมนี้
...
... โอตตัปปะเกิดขึ้นโดยอาศัยเหตุให้เกิดความเกรงกลัว ดังนี้
........ “อัตตานุวาทภัย” นึงถึงภัย คือ การที่ตนเองยังต้องตำหนิตนเอง (ไม่อาจยกโทษหรือยอมรับการกระทำนั้นได้ แม้เวลาจะล่วงเลยมานานแล้วก็ตาม ภัยข้อนี้ท่านจัดโดยมิได้นึกถึงส่วนที่เป็นคุณสมบัติของตนเอง เช่น วัย ชาติ เป็นต้น)
....... “ปรานุวาทภัย” นึกถึงภัย คือ การตำหนิติเตียนจากผู้อื่น หรือคนที่ตนรัก
...... “ทัณฑภัย” นึกถึงภัย คือ การถูกลงอาญา
...... “ทุคติภัย” ภัยคือ การเข้าถึงภพภูมิอันไม่น่าปรารถนา (เปรตและอสูรกาย เป็นต้น)


>>> F/B Dhamma today ธรรมะทูเดย์