ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: สิงหาคม 27, 2013, 02:03:16 pm »



 
เจตนา กรรมมี.. เจตนาไม่มี กรรมไม่มา

กรรม... ที่แท้

จะต้องประกอบด้วยหลักเกณฑ์ 2 ประการคือ...
หลักเกณฑ์ข้อที่ 1. 'ผู้ทำมีเจตนา' มีหลักการที่พระพุทธเจ้า
ได้ตรัสไว้ในนิพเพธิกสูตร ฉักกนิบาต อังคุตตรนิกาย ว่า...
'เจตนาหัง ภิกขเว กัมมัง วทามิ'...แปลว่า
ภิกษุทั้งหลาย เรากล่าวว่าเจตนาเป็นกรรม...

เจตนา......
ได้แก่ ความตั้งใจหรือความรับรู้
ซึ่งแบ่งได้เป็น 3 อย่างคือ...
1. บุพเจตนา...เจตนาก่อนทำ
2. มุญจนเจตนา...เจตนาในเวลาทำ
3. อปราปรเจตนา...เจตนาเมื่อได้ทำไปแล้ว


การกระทำโดยมีเจตนา เกิดขึ้นในตอนใดตอนหนึ่ง ถือว่าเป็นกรรม
ทั้งสิ้น ส่วนการกระทำที่ไม่มีเจตนา คือใจไม่ได้สั่งให้ทำไม่จัดว่าเป็น
กรรม เช่น คนเจ็บซึ่งมีไข้สูง เกิดเพ้อคลั่ง แม้จะพูดคำหยาบออก
มา เอามือหรือเท้าไปถูกใครเข้าก็ไม่เป็นกรรม ในทางวินัยก็ยกเว้นให้
พระที่วิกลจริตซึ่งล่วงเกินสิกขาวินัย ไม่ต้องอาบัติ ทั้งนี้ก็โดยหลัก
ที่ว่าถ้าผู้ทำไม่มีเจตนา การกระทำนั้นก็ไม่เป็นกรรม...

ส่วนหลักเกณฑ์ข้อที่ 2 การกระทำนั้นจะต้องให้ผลเป็นบุญหรือบาป
ก็เพื่อแยก การกระทำของพระอรหันต์ออกจากการกระทำของปุถุชน
เนื่องจากพระอรหันต์ เป็นผู้หลุดพ้นจากกิเลสอาสวะ ไม่มีความยึด
ถือในตัวตน การกระทำเรียกว่า อัพยากฤต ไม่นับว่าเป็นกรรมดีหรือ
กรรมชั่ว บุญและบาปไม่มี การกระทำของพระอรหันต์ จึงไม่เรียกว่า
กรรม...แต่เรียก กิริยา...


ส่วนปุถุชน ยังมีความยึดมั่นถือมั่นในตัวตนอยู่ จะทำอะไรก็ยังยึดถือ
ว่าตนเป็นผู้กระทำ 'การกระทำ' ของปุถุชน..จึงเป็นกรรม ย่อมจะก่อให้
เกิดวิบาก หรือผล..เสมอ....


'กรรมดี'...ก็ก่อให้เกิด...บุญ...
'กรรมชั่ว'...ก็ก่อให้เกิด...บาป...

~~พระธรรมสิงหบุราจารย์~~
หลวงพ่อจรัญ จิตธัมโม


G+ Kallaya Puechngam
สนทนาธรรมตามกาล