ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: สิงหาคม 02, 2010, 01:04:30 pm »

ผมชอบฟังทางลำโพงครับ ไม่ค่อยชอบใส่หูฟังเท่าไหร่ คิดว่า ไม่เพราะเท่าฟังทางลำโพงนะ สำหรับผม..
ถ้าฟังเพลงผมชอบฟังในคอมหรือไม่ก็ตอนขับรถครับ เหมือนอยู่ในโลกแห่งดนตรีส่วนตัว
ขอบคุณครับพี่แป๋ม
พอดีผมฟังในมือถืออะครับเพื่อน
รุ่นหลังๆนี่เสียงในหูฟังจะเพราะกว่าออกลำโพง
:30: จริงอ่ะ งั้นผมต้องรีบไปหาลองซะแล้ว 626 ผมฟังไม่ค่อยเพราะเยย..
ข้อความโดย: กระตุกหางแมว
« เมื่อ: สิงหาคม 02, 2010, 08:59:29 am »

ผมชอบฟังทางลำโพงครับ ไม่ค่อยชอบใส่หูฟังเท่าไหร่ คิดว่า ไม่เพราะเท่าฟังทางลำโพงนะ สำหรับผม..
ถ้าฟังเพลงผมชอบฟังในคอมหรือไม่ก็ตอนขับรถครับ เหมือนอยู่ในโลกแห่งดนตรีส่วนตัว
ขอบคุณครับพี่แป๋ม
พอดีผมฟังในมือถืออะครับเพื่อน
รุ่นหลังๆนี่เสียงในหูฟังจะเพราะกว่าออกลำโพง
ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: กรกฎาคม 31, 2010, 08:16:52 pm »

ผมชอบฟังทางลำโพงครับ ไม่ค่อยชอบใส่หูฟังเท่าไหร่ คิดว่า ไม่เพราะเท่าฟังทางลำโพงนะ สำหรับผม..
ถ้าฟังเพลงผมชอบฟังในคอมหรือไม่ก็ตอนขับรถครับ เหมือนอยู่ในโลกแห่งดนตรีส่วนตัว
ขอบคุณครับพี่แป๋ม
ข้อความโดย: กระตุกหางแมว
« เมื่อ: กรกฎาคม 31, 2010, 01:59:11 pm »

ผมก็กลัวอยู่เหมือนกันครับ
เพราะเป็นคนใช้หูฟังทุกวัน
แต่ผมไม่ค่อยฟังเกิน 50% ของโวลุ่มเท่าไหร่
แต่บางวันฟังนานๆ(2-3 ชม.)ผมก็ปวดหูเหมือนกันครับ
ขอบคุณนะครับพี่แป๋ม.. :yoyo078:
ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: กรกฎาคม 31, 2010, 06:05:21 am »



เสียบหูฟัง…ระวังประสาทหูเสื่อม

ผู้เชี่ยวชาญด้านการสร้างเสริมสุขภาพออกมาเผยว่า ขณะนี้ความเสี่ยงต่อภาวะพิการทางหู ซึ่งมีสาเหตุจากพฤติกรรมการฟังเพลงผ่านหูฟังของเครื่องเล่นเอ็มพี 3 หรือไอพอดมีสูงขึ้น โดยเฉพาะในรายที่เปิดเสียงดังหรือฟังติดต่อกันนานๆ ยิ่งเพิ่มความเสี่ยงในการที่ประสาทหูจะเสื่อมหรือรับรู้ได้น้อยลง

ความเสี่ยงนี้เกิดขึ้นทั่วโลก ในกลุ่มคนที่นิยมความทันสมัย วิ่งตามเทคโนโลยีใหม่ๆ ทุกฝีก้าว ไม่ว่าเด็กหรือผู้ใหญ่ ชาย หญิง หรือเพศที่สาม จากการสำรวจในเมืองไทยพบว่า ทุกวันนี้มีผู้พิการทางหูเพิ่มขึ้นวันละ 35 คน รวมๆ กันแล้วถึงตอนนี้มีผู้ที่มีอาการประสาทหูเสื่อมประมาณ 2 ล้านคนทั่วประเทศ

ตัวเลขที่สูงจนน่าตกใจ ทำให้ผู้จัดการแผนงานสร้างเสริมสุขภาพคนพิการในสังคมไทย ออกมาเผยว่า ขณะนี้กำลังศึกษาถึงผลกระทบจากการฟังเครื่องเล่นเอ็มพี 3 และไอพอดทุกชนิด ว่าต้องฟังติดต่อกันนานเพียงใด และระดับเสียงดังขนาดไหน ถึงจะมีผลต่อประสาทการได้ยินถึงขั้นเสี่ยงต่อความพิการ แต่ผลการวิจัยในต่างประเทศพบว่า การเสียบหูฟังนานๆ หรือการที่มีเสียงกระตุ้นประสาทการได้ยินอยู่ตลอดเวลา ทำให้เซลล์ประสาทหูเสื่อมได้อย่างแน่นอน เช่นเดียวกับการทำงานในโรงงานขนาดใหญ่ หรือการอยู่ในบริเวณท้องถนนที่มีเสียงดังมากๆ

ขณะที่หลายๆ ปัจจัยเราไม่สามารถควบคุมให้เสียงค่อยลงได้ ไม่สามารถหยุดเสียงเหล่านั้นลงได้เมื่อต้องการ แต่การฟังเอ็มพี 3 และไอพอด เราสามารถควบคุมได้ด้วยตัวเอง

ดังนั้นพึงสำนึกให้ขึ้นใจว่า ฟังน่ะฟังได้ แต่ต้องไม่ดังมากและนานมากติดต่อกัน ขอให้ยึดหลัก "ความพอดี" เป็นที่ตั้ง จะได้เพลิดเพลินเจริญหูได้นานๆ โดยหูไม่ดับหรือประสาทหูเสื่อมไปเสียก่อน



              :13:   http://www.vcharkarn.com/vblog/84483