ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: sithiphong
« เมื่อ: ธันวาคม 05, 2013, 08:49:42 am »

หน้าที่มาก่อน! แม่ไปชุมนุม เผชิญหน้าลูกชายที่เป็นตำรวจ

-http://news.sanook.com/1352549/%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B9%84%E0%B8%9B%E0%B8%8A%E0%B8%B8%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%A1-%E0%B9%80%E0%B8%9C%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B8%8D%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B3%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%88%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B8%81%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%81%E0%B8%97%E0%B9%89%E0%B9%86/-




(4 ธ.ค.) ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ในสังคมออนไลน์มีการแชร์ภาพถ่ายเรื่องราวระหว่างแม่กับลูกชายคู่หนึ่ง ซึ่งอยู่ต่างสถานะและหน้าที่ท่ามกลางสถานการณ์ความขัดแย้งของการชุมนุมทางการเมือง โดยแม่เป็นผู้เข้าร่วมชุมนุม ส่วนลูกชายเป็นเจ้าหน้าที่ตำรวจ ที่ต้องปฏิบัติหน้าที่ป้องกันไม่ให้ฝูงชนบุกเข้าสถานที่ราชการได้ จนต้องมีการปะทะกันและทำให้มีผู้ได้รับบาดเจ็บจากการถูกแก๊สน้ำตาจำนวนมาก

ภาพและข้อความดังกล่าว ถูกโพสต์โดยผู้ใช้เฟซบุ๊ก ชื่อ Jatuporn Wisitchotiaungkoon ซึ่งเป็นหลังการชุมนุมยุติลง ผู้เป็นแม่ได้นำอาหารไปให้ลูกชายซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ตรวจ ภาพดังกล่าวถูกแชร์ไปอย่างมากมาย โดยมีผู้แสดงความคิดเห็นหลากหลายกับภาพนี้ ทั้งประทับใจ ซึ้งใจ และสะเทือนใจ โดยระบุข้อความดังนี้...

"เจ้าลูกชายของเเม่"
เมื่อลูกชายที่เป็นตำรวจจากต่างจังหวัดต้องมาปฏิบัติภารกิจเพื่อปกป้องตามคำสั่งของนาย
เเละแม่ก็มาทำหน้าที่คนไทยคนหนึ่งที่มาทวงถามความถูกต้อง ตามอุดมการณ์

คนละฝั่ง คนละภารกิจ...

เมื่อเหตุการณ์คลี่คลายลงไป ...ควันจากแก๊สน้ำตาจางลง
ทั้งสองฝ่ายก็ได้พบกันในบรรยากาศแห่งสันติ
ทั้งสองได้เจอกันโดยบังเอิญ
ผู้เป็นเเม่นำอาหารให้ลูกชายได้กินให้อิ่มหนำ
ลูกชายของเเม่...