ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: sithiphong
« เมื่อ: ธันวาคม 09, 2013, 08:36:14 pm »

สปส.ปรับปรุงการจ่ายเงินกรณีคลอดบุตร ให้เลือกโรงพยาบาลได้อิสระ

-http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1386568985&grpid=03&catid=&subcatid=-

นพ.สุรเดช วลีอิทธิกุล รองเลขาธิการสำนักงานประกันสังคม (สปส.) กระทรวงแรงงาน กล่าวถึงการปรับปรุงการจ่ายเงินสิทธิประโยชน์กรณีคลอดบุตร ซึ่งจ่ายให้ผู้ประกันตนรายละ 13,000 บาทต่อการคลอดบุตร 1 คนว่า จากการหารือกับนางอำมร เชาวลิต เลขาธิการ สปส. ได้ข้อสรุปว่า สปส.ยังคงให้ผู้ประกันตนมีความสะดวกในการเลือกโรงพยาบาลที่จะคลอดบุตรได้เอง ดังนั้น สปส.จะให้ผู้ประกันตนสามารถเลือกโรงพยาบาลที่จะไปคลอดบุตรได้อย่างอิสระ ทั้งนี้ เมื่อไปคลอดบุตร ก็ขอให้แจ้งต่อสำนักงาน สปส.ในพื้นที่โดยขอให้แจ้งเลขบัตรประจำตัวประชาชนของผู้ประกันตนด้วย เพื่อที่เมื่อคลอดบุตรแล้ว สปส.จะได้ตามไปจ่ายเงินค่าคลอดบุตรให้แก่ผู้ประกันตนโดยตรง หรือเรียกว่าเป็นการจ่ายเงินข้างเตียง หลังจากนั้นผู้ประกันตนก็นำเงินไปจ่ายค่าคลอดบุตรให้แก่โรงพยาบาลเอง ซึ่งแนวทางนี้ สปส.จะเริ่มนำร่องในพื้นที่กรุงเทพฯ ปริมณฑลและหลายจังหวัด เช่น ชลบุรี ฉะเชิงเทรา ในเดือนธันวาคมนี้ หลังจากนั้นเดือนมกราคม 2557 จะขยายการดำเนินการให้ครอบคลุมทุกจังหวัดทั่วประเทศ


นพ.สุรเดช กล่าวว่า ตนได้จัดทำรายงานสรุปแนวทางการปรับปรุงการจ่ายเงินสิทธิประโยชน์กรณีคลอดบุตรเสนอต่อเลขาธิการ สปส.และนายจีรศักดิ์ สุคนธชาติ ปลัดกระทรวงแรงงาน ไปแล้ว ซึ่งทาง สปส.จะเร่งจัดทำแนวปฏิบัติการดำเนินการและทำหนังสือแจ้งไปยังสำนักงาน สปส.ทุกแห่ง โรงพยาบาลในระบบประกันสังคม รวมไปถึงโรงพยาบาลในสังกัดอื่นๆ เพื่อที่จะได้มีการปฏิบัติที่ตรงกันเป็นการป้องกันปัญหากรณีผู้ประกันตนไปคลอดบุตรแล้ว โรงพยาบาลโดยเฉพาะเอกชนไม่รับทำคลอด เนื่องจากเกรงว่าผู้ประกันตนจะไม่มีเงินจ่าย ส่วนกรณีเจ็บป่วยฉุกเฉิน เพราะอาการแทรกซ้อนจากการตั้งครรภ์นั้น ไม่มีปัญหาเรื่องค่าใช้จ่าย เพราะมีสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ดูแลอยู่แล้ว โรงพยาบาลที่ให้การรักษาสามารถยื่นเรื่องเบิกเงินจาก สปสช.ได้โดยตรง