ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: กุมภาพันธ์ 19, 2014, 01:47:06 pm »http://youtu.be/MhOOfL8J_4U พระอภิธรรม 7 คัมภีร์ อักษรขอม Test(3)
ThaiEsan4 Published on Mar 8, 2013
สวดพระอภิธรรม 7 คัมภีร์ อักษรขอม Test(3)
อภิธรรม (สันสกฤต: abhidharma) หรืออภิธัมมะ (บาลี: abhidhamma) เป็นชื่อปิฎกฉบับหนึ่งในปิฎกทั้งสามฉบับของพระพุทธศาสนา ที่รวมเรียก "พระไตรปิฎก" อภิธรรม แปลว่า "ธรรมอันยิ่ง" ปิฎกฉบับอภิธรรมนั้นเรียก "พระอภิธรรมปิฎก" ซึ่งว่าด้วยประมวลหลักธรรมและคำอธิบายที่เป็นหลักวิชาล้วน ๆ ไม่มีความเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์และบุคคลเลย
สำหรับพระอภิธรรมปิฎกนั้นแบ่งออกเป็นเจ็ดคัมภีร์ ซึ่งเรียกย่อว่า สํ. วิ. ธา. ปุ. ก. ย. และ ป. ตามลำดับ ประกอบไปด้วย
1. สังคณี หรือธัมมสังคณี (เรียกโดยย่อว่า "สํ.") - รวมข้อธรรมเข้าเป็นหมวดหมู่แล้วอธิบายทีละประเภท
2. วิภังค์ (เรียกโดยย่อว่า "วิ.") - ยกหมวดธรรมขึ้นตั้งเป็นหัวข้อเรื่องแล้วแยกแยะออกอธิบายชี้แจงวินิจฉัยโดยละเอียด
3. ธาตุกถา (เรียกโดยย่อว่า "ธา.") - สังเคราะห์หรือจัดประเภทข้อธรรมต่าง ๆ เข้าเป็นหมวดเป็นหมู่ดังต่อไปนี้ คือ ขันธ์ อายตนะ และธาตุ
4. ปุคคลบัญญัติ (เรียกโดยย่อว่า "ปุ.") - บัญญัติความหมายบุคคลประเภทต่าง ๆ ตามคุณธรรมที่มีอยู่
5. กถาวัตถุ (เรียกโดยย่อว่า "ก.") - แถลงและวินิจฉัยทัศนะที่ขัดแย้งกันของนิกายต่าง ๆ ในสมัยสังคายนาครั้งที่ 3 โดยเน้นความถูกต้องของฝ่ายเถรวาท คัมภีร์นี้เป็นบทนิพนธ์ของพระโมคคัลลีบุตรติสสเถระ
6. ยมกะ (เรียกโดยย่อว่า "ย.") - ยกหัวข้อธรรมขึ้นวินิจฉัยด้วยวิธีถามตอบ โดยตั้งคำถามย้อนกันเป็นคู่ ๆ
7. ปัฏฐาน หรือมหาปกรณ์ (เรียกโดยย่อว่า "ป.") - อธิบายปัจจัย 24 และแสดงความสัมพันธ์ระหว่างธรรมทั้งหลายอย่างละเอียด
เสียงสวดพุทธมนต์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์+เเปลค่ะ
http://youtu.be/6_3c5qiDAsg บทสวดพระอภิธรรม 7 คัมภีร์ แปล
rapin paiwan Uploaded on Dec 19, 2011
*********************
ThaiEsan4 Published on Mar 8, 2013
สวดพระอภิธรรม 7 คัมภีร์ อักษรขอม Test(3)
อภิธรรม (สันสกฤต: abhidharma) หรืออภิธัมมะ (บาลี: abhidhamma) เป็นชื่อปิฎกฉบับหนึ่งในปิฎกทั้งสามฉบับของพระพุทธศาสนา ที่รวมเรียก "พระไตรปิฎก" อภิธรรม แปลว่า "ธรรมอันยิ่ง" ปิฎกฉบับอภิธรรมนั้นเรียก "พระอภิธรรมปิฎก" ซึ่งว่าด้วยประมวลหลักธรรมและคำอธิบายที่เป็นหลักวิชาล้วน ๆ ไม่มีความเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์และบุคคลเลย
สำหรับพระอภิธรรมปิฎกนั้นแบ่งออกเป็นเจ็ดคัมภีร์ ซึ่งเรียกย่อว่า สํ. วิ. ธา. ปุ. ก. ย. และ ป. ตามลำดับ ประกอบไปด้วย
1. สังคณี หรือธัมมสังคณี (เรียกโดยย่อว่า "สํ.") - รวมข้อธรรมเข้าเป็นหมวดหมู่แล้วอธิบายทีละประเภท
2. วิภังค์ (เรียกโดยย่อว่า "วิ.") - ยกหมวดธรรมขึ้นตั้งเป็นหัวข้อเรื่องแล้วแยกแยะออกอธิบายชี้แจงวินิจฉัยโดยละเอียด
3. ธาตุกถา (เรียกโดยย่อว่า "ธา.") - สังเคราะห์หรือจัดประเภทข้อธรรมต่าง ๆ เข้าเป็นหมวดเป็นหมู่ดังต่อไปนี้ คือ ขันธ์ อายตนะ และธาตุ
4. ปุคคลบัญญัติ (เรียกโดยย่อว่า "ปุ.") - บัญญัติความหมายบุคคลประเภทต่าง ๆ ตามคุณธรรมที่มีอยู่
5. กถาวัตถุ (เรียกโดยย่อว่า "ก.") - แถลงและวินิจฉัยทัศนะที่ขัดแย้งกันของนิกายต่าง ๆ ในสมัยสังคายนาครั้งที่ 3 โดยเน้นความถูกต้องของฝ่ายเถรวาท คัมภีร์นี้เป็นบทนิพนธ์ของพระโมคคัลลีบุตรติสสเถระ
6. ยมกะ (เรียกโดยย่อว่า "ย.") - ยกหัวข้อธรรมขึ้นวินิจฉัยด้วยวิธีถามตอบ โดยตั้งคำถามย้อนกันเป็นคู่ ๆ
7. ปัฏฐาน หรือมหาปกรณ์ (เรียกโดยย่อว่า "ป.") - อธิบายปัจจัย 24 และแสดงความสัมพันธ์ระหว่างธรรมทั้งหลายอย่างละเอียด
เสียงสวดพุทธมนต์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์+เเปลค่ะ
http://youtu.be/6_3c5qiDAsg บทสวดพระอภิธรรม 7 คัมภีร์ แปล
rapin paiwan Uploaded on Dec 19, 2011
*********************
#มหาจักรพรรดิ @หลวงปู่ดู่
หลวงปู่ท่านเล่าให้ฟังถึงการปลุกเสก หรืออธิษฐานวัตถุมงคลของท่านว่า?“นอกจากการมีพลังจิตแล้ว ที่ท่านใช้อยู่เสมอคือ บทสวดมนต์ตามเจ็ดตำนาน”?ซึ่งท่านบอกว่า ดีกว่าคาถาอาคมมากมาย เพราะเป็นเรื่องราวของพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ทั้งนั้น ไม่จัดเป็นเดรัจฉานวิชา บทที่ท่านทำทุกครั้งคือ บทพระพุทธเจ้าทรมานพญาชมพูบดี หรือที่เรียกว่า?“ชมพูปติสูตร”?ซึ่งแสดงถึงอำนาจหรือบารมีของพระพุทธเจ้า ผู้เป็นครูของมนุษย์และเทวดาทั้งปวง แสดงถึง ธรรมที่ชนะอธรรม ท่านเรียกบทนี้ว่า?“มหาจักรพรรดิ”?พญาชมพูบดีเป็นจักรพรรดิที่มีอิทธิฤทธิ์มาก แต่พ่ายแพ้บุญฤทธิ์ ในที่สุดอุปสมบทได้สำเร็จอรหัตผล หลวงปู่ท่านกล่าวว่า
“ข้าเป็นคนโลภมาก ทำอะไรก็อยากทำให้มากที่สุด ดีที่สุด
เดี๋ยวนี้ใช้แค่บทนี้ทั้งนั้น
ใครนั่งคุมเวลาข้าเสก เขาก็รู้เองแหละว่า ทำจริงหรือไม่จริง”
..
..
ท่านเคยมีลูกศิษย์คนหนึ่งเป็นพระ ต่อมาท่านไม่มาหาหลวงปู่อีก
เนื่องจากหลวงปู่ท่านพูดว่า
“ยังไม่นิพพาน เพราะต้องโปรดคน”
เดี๋ยวนี้ใช้แค่บทนี้ทั้งนั้น
ใครนั่งคุมเวลาข้าเสก เขาก็รู้เองแหละว่า ทำจริงหรือไม่จริง”
..
..
ท่านเคยมีลูกศิษย์คนหนึ่งเป็นพระ ต่อมาท่านไม่มาหาหลวงปู่อีก
เนื่องจากหลวงปู่ท่านพูดว่า
“ยังไม่นิพพาน เพราะต้องโปรดคน”
แต่พระองค์นี้ตีความไปว่า หลวงปู่ยังติดอยู่กับลาภยศ ชื่อเสียง ซึ่งความจริง ท่านมีเมตตา และบอกปรารถนาของท่านให้ทราบว่าท่านเป็นพระโพธิสัตว์ ผู้เขียนคัดลอกเกี่ยวกับบทชมพูปติสูตร หรือบทมหาจักรพรรดิมาลงไว้ เนื่องจากในปัจจุบันขาดผู้สนใจ เห็นเป็นเรื่องเหลวไหล แม้แต่พระบางองค์ท่านยังกล่าวว่าเกินความจริง โดยท่านลืมนึกถึงคำว่า?“อจินไตย”?คือสิ่งที่ไม่ควรคิด เพราะไม่สามารถนำเหตุผลทางโลกหรือทางทฤษฎีมาทำให้เกิดความกระจ่างได้ เป็นเรื่องของผู้ปฏิบัติพึงรู้ได้เอง ถ้าคิดมากในที่สุดอาจจะเป็นบ้าได้ สิ่งเหล่านี้ได้แก่
๑. พุทธวิสัย วิสัยของพระพุทธเจ้า เช่น ทำไมท่านถึงตรัสรู้ได้? ท่านมีอิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย์จริงหรือ? ฯลฯ
๒. วิสัยของกรรม เช่น ทำไมคนนั้นคนนี้รวย จน สมบูรณ์ กำพร้า?
๓. วิสัยของพระอรหันต์ เช่น ท่านหมดโลภ โกรธ หลง หรือ?
๔. วิสัยของโลก เช่น โลกเกิดมาได้อย่างไร?
๕. วิสัยของผู้ปฏิบัติธรรม เช่น ลักษณะที่สงบเป็นอย่างไร? สงบจริงหรือไม่?
ท่านผู้อ่านทั้งหลาย ลองคิดดู พระเจ้าแผ่นดินที่เกิดมาภายใต้เศวตฉัตร ถ้าพระองค์ไม่มีบุญญาธิการแล้ว ท่านจะเป็นได้อย่างไร เพราะคนไทยมีเป็นหลายสิบล้านคน นั่นแสดงถึงวาสนาบารมีของแต่ละบุคคลไม่เท่าเทียมกัน มีเหตุปัจจัยจากสิ่งที่ท่านได้สร้างสมอบรมมาแตกต่างกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งพระบารมีขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า จะมีมากขนาดไหน จึงสามารถโปรดคนได้มากมายทั้งสามแดนโลกธาตุ
>>> F/B Jeng Dhammajaree
อ่านต่อ...
ตำนานพระปริตร : สิ บ ส อ ง ตำ น า น
http://www.tairomdham.net/index.php/topic,10407.0.html