ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: มีนาคม 21, 2014, 09:11:38 pm »



"อวิชา" เป็นความไม่รู้ หรือรู้ผิด ทำให้หลง
สำคัญผิดในสิ่งที่เป็นทุกข์ ว่าเป็นความสุขไป
จนถึงกับพอใจ เวียนว่ายอยู่ในกองทุกข์
-คู่มือมนุษย์- พุทธทาสภิกขุ


ดับทุกข์ที่ทุกข์ ดับไฟที่ไฟ อย่าเอาไปไว้ คนละแห่ง คนละชาติ คือ
ทุกข์อยู่ในชาตินี้ แล้วจะดับทุกข์ หรือ นิพพาน ต่อชาติอื่น
อีกหลายร้อย หลายพันชาติ จะดับไม่ได้ และมีแต่ การละเมอ เพ้อฝัน
จะต้องดับที่ตัวมัน และให้ทันแก่เวลา
เมื่อมีผัสสะเกิดขึ้น ก็มีสติ สัมปชัญญะ ทันควัน จัดการกับผัสสะ นั้นทันที
จนทุกข์ ไม่อาจจะเกิดขึ้น หรือดับไป,
เดี๋ยวนี้ มักจะเอา ทุกข์ กับ ดับทุกข์ ไว้คนละชาติ.
พุทธทาสภิกขุ


จิตว่าง เพราะวางจิต





คนมีความยึดมั่นถือมั่น
ไม่หิวก็ทุกข์ หิวก็ทุกข์
ได้กินแล้วก็ยังทุกข์ ร่ำรวยแล้วก็ยังทุกข์
มีความสุขแล้วก็ยังมีความทุกข์
สติปัญญาของคน ต่างกันกับสัตว์ที่ตรงนี้
พุทธทาสภิกขุ


>>> F/B Trader Hunter พบธรรม


พุทธทาสภิกขุ