ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: กระตุกหางแมว
« เมื่อ: สิงหาคม 03, 2010, 12:56:23 am »

นำเสนอได้น่ารักดีครับ :45:
ข้อความโดย: mmm
« เมื่อ: กรกฎาคม 12, 2010, 07:33:49 pm »

 :45:
ข้อความโดย: แก้วจ๋าหน้าร้อน
« เมื่อ: กรกฎาคม 11, 2010, 10:10:10 pm »

 :07: สาธุครับพี่มด
ข้อความโดย: ดอกโศก
« เมื่อ: กรกฎาคม 11, 2010, 05:08:53 pm »

อนุโมทนาค่ะ  :45:
ข้อความโดย: มดเอ๊กซ
« เมื่อ: กรกฎาคม 11, 2010, 04:45:25 pm »

การให้ทานที่ไม่ต้องเสียเงิน แล้วยังได้นิพพาน


ทาน แปลว่า การให้ เป็นหลักธรรมที่เรามักจะได้ยินได้ฟังและได้ปฏิบัติกันบ่อยที่สุดเพราะไม่ว่าจะไปที่ไหนๆ ก็จะมีคนชักชวนให้ทำบุญทำทานกันอยู่เสมอ และเมื่อพูดถึงการให้ ก็สื่อความหมายถึงว่าต้องมีผู้รับด้วย แต่ยังมีการให้อีกประการหนึ่ง ไม่ต้องมีตัวผู้ให้และไม่ต้องมีผู้รับ เป็นการให้ที่ไม่ต้องเสียเงินสักสตางค์เดียว แต่มีอานิสงส์อันยิ่งใหญ่ที่นำไปสู่นิพพานได้ บทความ การให้ทานที่ไม่ต้องเสียเงิน แล้วยังได้นิพพาน เป็นผลงานของหลวงพ่อพุทธทาส ภิกขุ หรือ พระเดชพระคุณพระธรรมโกศาจารย์ แห่งวัดสวนโมกขพลาราม อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยพระเดชพระคุณท่านได้อธิบายความหมายและจุดประสงค์ของทานไว้อย่างครบครัน หวังว่าเมื่อทุกท่านได้อ่านบทความปาฐกถาธรรมของพระเดชพระคุณท่านแล้ว จักพัฒนาตนเพื่อไต่ระดับขึ้นสู่การให้ขั้นสูงสุด จนหลุดพ้นจากความยึดมั่น หรือความเห็นแก่ตัวออกไปเสียให้หมด จนเป็นจิตที่บริสุทธิ์ไม่ได้ถูกยึดถือไว้ด้วยอุปาทาน ซึ่งพระพุทธองค์ทรงถือว่าจะไม่เกิดทุกข์ นั่นก็คือนิพพานนั่นเอง



การให้ทานที่ไม่ต้องเสียเงิน แล้วยังได้นิพพาน


เหตุที่ให้วัตถุทาน



ข้อควรระวังในการให้วัตถุทาน



อภัยทาน สูงกว่าวัตถุทาน



ธรรมทาน คือ ให้ความรู้ที่ทำให้พ้นทุกข์



ให้นิพพานเป็นทาน



สุญญตาทาน ให้ความว่างเป็นทาน



สุญญตาทาน คือการสละตัวกู



วิธีการให้สุญญตาทาน





สุญญตาทาน ไม่เสียเงินและยังได้นิพพาน




พระพุทธเจ้าให้ละเหยื่อของโลก



บุญ คือ เหยื่อล่อยิ่งกว่าเหยื่อล่ออย่างอื่น



ต้องการพ้นทุกข์ ต้องละเหยื่อล่อให้หมด



สวรรค์ คือ นรกชนิดหนึ่ง



ทำบุญมาก เป็นทุกข์เพราะอยาก



หยุดใจให้อยาก ก็ชนะได้ทุกอย่าง



สวรรค์ - นรก ในชาติปัจจุบัน




บทสวดมนต์พิจารณา คลายความยึดมั่นถือมั่น



บทพิจารณาสังขาร



บทพิจารณาขันธ์ ๕









ขอขอบคุณ