ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: มิถุนายน 03, 2014, 01:01:53 am »


                    pic by :http://www.prommapanyo.com/smf/index.php?topic=1188.0

ปฐมเหตุของโลก
พุทธศาสนาในอินเดีย 1
กำเนิดโลก กำเนิดชีวิต
พุทธศาสนาในอินเดีย 2
พุทธศาสนาในอิหร่าน-อินเดีย 1
พุทธศาสนาในอิหร่าน-อินเดีย 2
พุทธศาสนาในสุวรรณภูมิ1
พุทธศาสนาในสุวรรณภูมิ2
พุทธศาสนาในสุวรรณภูมิ3
ศาสนาสมัยอยุธยารัตนโกสินทร์
พุทธศาสนาในธิเบต
พุทธศาสนาในประเทศจีน 1
พุทธศาสนาในประเทศจีน 2
พุทธศิลป์ในประเทศจีน
พระถังซำจั๋ง 1
พระถังซำจั๋ง 2
พุทธศาสนาในญี่ปุ่น
นิกายมหายาน 3
นิกายมหายาน 2
พระไตรปิฎกมหายาน
อภิธรรมมหายาน
วิจัยเวสสันดรชาดก
ตอบปัญหาเรื่องพระเจ้า

คลิกเพื่อฟัง
http://dhamma.buddhistthaipost.com/index.php/2013-04-16-17-52-36/2013-04-16-17-26-15/2013-04-16-17-26-17/item/257-%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9E%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%B2-%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%96%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A3-%E0%B9%82%E0%B8%9E%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B0


**************************************************


อาจารย์เสถียร โพธินันทะ ผู้ได้รับการยกย่องว่าเป็นปราชญ์ทางพระพุทธศาสนาคนหนึ่งของไทย ผู้บุกเบิกการศึกษาพระพุทธศาสนามหายาน และอดีตเลขาธิการคณะสงฆ์จีนนิกายแห่งประเทศไทย

เกิดที่กรุงเทพมหานคร เมื่อวันจันทร์ที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2472 ที่บ้านในตรอกอิศรานุภาพ บริเวณตลาดเก่าเยาวราช ใกล้ ๆ กับวัดกันมาตุยาราม บิดาเป็นชาวจีนชื่อนายตั้งเป็งท้ง มารดาชื่อ นางมาลัย กมลมาลย์ มีพี่สาวสองคน ตามประวัติกล่าวว่าเมื่อมารดาตั้งครรภ์อาจารย์เสถียร บิดาก็มีเหตุจำเป็นต้องเดินทางกลับไปประเทศจีนและได้ถึงแก่กรรมในเวลาต่อมา ในวัยเด็ก เด็กชายเสถียรใช้นามสกุลว่า “กมลมาลย์” ตามมารดา จนกระทั่ง พ.ศ. 2491 เมื่อมีอายุได้ 20 ปี จึงได้เปลี่ยนนามสกุลตนเองเป็น “โพธินันทะ” อันหมายถึงผู้ยินดีในความรู้แจ้ง ด้วยประสงค์จะให้ใกล้ชิดกับพระศาสนาและได้ใช้นามสกุลนี้ตลอดมาจนถึงแก่กรรม

ก่อตั้งยุวพุทธิกสมาคมแห่งประเทศไทย
เมื่ออาจารย์เสถียร โพธินันทะมีอายุราว 17 ปี ท่านสุชีโว ภิกขุ หรืออาจารย์สุชีพ ปุญญานุภาพ ได้เชิญให้อาจารย์เสถียร โพธินันทะซึ่งเป็นศิษย์ในวัดกันมาตุยารามไปบรรยายธรรมะให้พุทธศาสนิกชนฟัง ที่ตึกมหามกุฏราชวิทยาลัย หน้าวัดบวรนิเวศวิหาร (ปัจจุบันใช้เป็นสำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง) อาจารย์เสถียรไปถึงที่บรรยายทั้งๆ ที่ใส่ชุดนักเรียน โดยที่ท่านสุชีโว ภิกขุได้ตามไปเป็นพี่เลี้ยงให้ด้วย การบรรยายในวันนั้น สร้างความประทับใจแก่ผู้ฟังเป็นอย่างมาก ที่เห็นวัยรุ่นอายุยังไม่ครบ 20 ปีสามารถบรรยายธรรมได้อย่างแตกฉาน ทำให้เกิดกระแสความต้องการของประชาชนที่จะก่อตั้งเป็นกลุ่มเยาวชนพุทธขึ้นมา เพื่อสร้างศาสนทายาทในฝ่ายฆราวาสขึ้น ผู้เป็นตัวตั้งตัวตีอีกคนในยุคนั้น คือ นายบุญยง ว่องวาณิช นายห้างอังกฤษตรางู ซึ่งสมัยนั้น ติดตามฟังปาฐกถาของสุชีโว ภิกขุและอาจารย์เสถียร โพธินันทะเป็นประจำ

ต่อมา สุชีโว ภิกขุก็นำเรื่องนี้ไปปรึกษาพระพรหมมุนี (ผิน สุวโจ) วัดบวรนิเวศวิหาร เมื่ออาจารย์เสถียร โพธินันทะอายุได้ 20 ปีเพื่อขอจดทะเบียนเป็นสมาคม พระพรหมมุนี จึงตั้งชื่อให้ว่ายุวพุทธิกสมาคมแห่งประเทศไทย ตั้งแต่บัดนั้น อาจารย์เสถียร ก็ทำหน้าที่ระดมชาวพุทธวัยหนุ่มสาวให้มาทำงานเพื่อพระพุทธศาสนาร่วมกัน ผลการก่อตั้งยุวพุทธิกสมาคม ปรากฏว่ามีนักศึกษามหาวิทยาลัย พ่อค้า ข้าราชการ ที่มีความเห็นตรงกันจำนวนมากสนใจในพระพุทธศาสนา ต่อมา ยุวพุทธิกสมาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ซึ่งเป็นองค์กรทางศาสนาที่มีบทบาทสำคัญและมีชื่อเสียงโด่งดังไปทั่วประเทศและมีชื่อเสียงไปถึงระดับนานาชาติ ภายใต้นายกสมาคมคนใหม่ กล่าวคือ อนุรุทธ ว่องวาณิช ซึ่งเป็นบุตรชายของบุญยง ว่องวาณิชมาจนทุกวันนี้

ฟัง+donwload โดยคลิกได้ที่
http://www.ybat.org/media/satien/dhamma_talk_satien.html

ธรรมบรรยายหลักสูตร เสถียร โพธินันทะ
สารบัญ

  ๑. ปฐมเหตุของโลก
  ๒. กำเนิดโลก กำเนิดชีวิต
  ๓.สุนทรียถาพในพระพุทธศาสนา
  ๔. พุทธวิธีในการปฏิรูป
  ๕. อาการจิต
  ๖. ขันธวาที
  ๗.สุญญตา
  ๘.หลักของสุญญตา
  ๙.ปกติวาที - สมยวาที
 ๑๐.ปรปัจจัย

 ๑๑.ปฏิจจสมุปบาท ๑
 ๑๒.ปฏิจจสมุปบาท ๒
 ๑๓.ปฏิจจสมุปบาท ๓
 ๑๔.ปฏิจจสมุปบาท ๔
 ๑๕.ตรรกวิทยา
 ๑๖.เหตุการณ์ก่อนพุทธปรินิพพาน
 ๑๗.เหตุการณ์หลังพุทธปรินิพพาน
 ๑๘.ทุติยสีงคายนา ๑
 ๑๙.ทุติยสีงคายนา ๒
 ๒๐.ประวัติพุทธศาสนา

 ๒๑.งานพระธรรมฑูต ๑
 ๒๒.งานพระธรรมฑูต ๒
 ๒๓.พุทธศาสนาในอินเดีย ๑
 ๒๔.พุทธศาสนาในอินเดีย ๒
 ๒๕.พุทธศาสนาในอิหร่าน-อินเดีย ๑
 ๒๖.พุทธศาสนาในอิหร่าน-อินเดีย ๒
 ๒๗.ลัทธิลังกาวงศ์ในสุวรรณภูมิ ๑
 ๒๘.ลัทธิลังกาวงศ์ในสุวรรณภูมิ ๒
 ๒๙.พุทธศาสนาในสุวรรณภูมิ
๓๐.ศาสนาสมัยอยุธยารัตนโกสินทร์   

๓๑.พุทธศาสนาในธิเบต
๓๒.พุทธศาสนาในประเทศจีน ๑
๓๓.พุทธศาสนาในประเทศจีน ๒
๓๔.พุทธศิลป์ในประเทศจีน
๓๕.พระถังซำจั๋ง ๑
๓๖.พระถังซำจั๋ง ๒
๓๗.พุทธศาสนาในญี่ปุ่น
๓๘.นิกายมหายาน ๑
๓๙.นิกายมหายาน ๒
๔๐.พระไตรปิฎกมหายาน

๔๑.อภิธรรมมหายาน
๔๒.คัมภีร์กถาวัตถุ ๑
๔๓.คัมภีร์กถาวัตถุ ๒
๔๔.วิจัยคัมภีร์กถาวัตถุ ๑   
๔๕.วิจัยคัมภีร์กถาวัตถุ ๒
๔๖.วิจัยคัมภีร์กถาวัตถุ ๓
๔๗.วิจัยคัมภีร์กถาวัตถุ ๔
๔๘.วิจัยเวสสันดรชาดก
๔๙.ตอบปัญหาเรื่องพระเจ้า
๕๐.สารพัดปัญหา ๑

๕๑.สารพัดปัญหา ๒
๕๒.สารพัดปัญหา ๓
๕๓.สารพัดปัญหา ๔
๕๔.สารพัดปัญหา ๕
๕๕.สารพัดปัญหา ๖
๕๖.สารพัดปัญหา ๗
๕๗.สารพัดปัญหา ๘
๕๘.สารพัดปัญหา ๙
๕๙.สารพัดปัญหา ๑๐
๖๐.สารพัดปัญหา ๑๑