ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: กรกฎาคม 08, 2014, 05:43:21 pm »

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุท ธัสสะ
                   ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น

พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๐  พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๒
อังคุตตรนิกาย เอก-ทุก-ติกนิบาต

โยธาชีววรรคที่ ๔
โยธสูตร
             [๕๗๓] ดูกรภิกษุทั้งหลาย นักรบอาชีพประกอบด้วยองค์ ๓
ประการสมควรแก่พระราชา เหมาะแก่พระราชา ถึงการนับว่าเป็นองค์ของพระราชา
โดยแท้ องค์ ๓ ประการเป็นไฉน ดูกรภิกษุทั้งหลาย นักรบอาชีพในโลกนี้ ยิง
ลูกศรไปได้ไกล ๑ ยิงไม่พลาด ๑ ทำลายกายขนาดใหญ่ได้ ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลาย
นักรบอาชีพประกอบด้วยองค์ ๓ ประการนี้แล สมควรแก่พระราชา เหมาะแก่
พระราชา ถึงการนับว่าเป็นองค์ของพระราชาโดยแท้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประ-
*กอบด้วยธรรม ๓ ประการ ฉันนั้นเหมือนกัน ย่อมเป็นผู้ควรของคำนับ ฯลฯ เป็น

นาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า องค์ ๓ ประการเป็นไฉน ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ยิงลูกศรไปได้ไกล ๑ ยิงไม่พลาด ๑ ทำลายกายขนาดใหญ่
ได้ ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ภิกษุยิงลูกศรไปได้ไกลอย่างไร ภิกษุในธรรมวินัยนี้
ย่อมพิจารณาเห็นรูปอย่างใดอย่างหนึ่ง ทั้งที่เป็นอดีต ทั้งที่เป็นอนาคต ทั้งที่เป็น
ปัจจุบัน เป็นภายในหรือภายนอก หยาบหรือละเอียด เลวหรือประณีต ในที่
ไกลหรือในที่ใกล้ ทั้งหมดนั้น ด้วยปัญญาอันชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า

นั่นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่เป็นเรา นั่นไม่ใช่ตัวตนของเรา ย่อมพิจารณาเห็นเวทนา
อย่างใดอย่างหนึ่ง ... ย่อมพิจารณาเห็นสัญญาอย่างใดอย่างหนึ่ง ... ย่อมพิจารณา
เห็นสังขารอย่างใดอย่างหนึ่ง ... ย่อมพิจารณาเห็นวิญญาณอย่างใดอย่างหนึ่ง ทั้งที่
เป็นอดีต ทั้งที่เป็นอนาคต ทั้งที่เป็นปัจจุบัน เป็นภายในหรือภายนอก หยาบ
หรือละเอียด เลวหรือประณีต ในที่ไกลหรือในที่ใกล้ ทั้งหมดนั้น ด้วยปัญญา
อันชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่เป็นเรา นั่นไม่

ใช่ตัวตนของเรา ดังนี้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุยิงลูกศรไปได้ไกลอย่างนี้แล ดูกร
ภิกษุทั้งหลาย ก็ภิกษุยิงไม่ผิดพลาดอย่างไร ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้
รู้ชัดตามความเป็นจริงว่า นี้ทุกข์ นี้เหตุให้ทุกข์เกิด นี้ความดับทุกข์ นี้ข้อปฏิบัติ
ให้ถึงความดับทุกข์ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุยิงไม่ผิดพลาดอย่างนี้แล ดูกรภิกษุ
ทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมทำลายกองอวิชชาใหญ่ได้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ภิกษุทำลายกายขนาดใหญ่ได้อย่างนี้แล ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วย
ธรรม ๓ ประการนี้แล ย่อมเป็นผู้ควรของคำนับ ฯลฯ เป็นนาบุญของโลก ไม่มีนา-
*บุญอื่นยิ่งกว่า ฯ

http://www.84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=20&A=7483&Z=7511&pagebreak=0