ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: กรกฎาคม 23, 2015, 12:57:49 pm »



“ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย! การแสวงหามี ๒ อย่าง คือ
การแสวงหาอามิส กับการแสวงหาธรรม
ในการแสวงหาทั้งสองอย่างนี้ การแสวงหาธรรมเป็นเลิศ.”

ทุกนิบาต อังคุตตรนิกาย ๒๐/๑๑๖













“ในการปฏิบัตินั้น มีหลักการอันเดียวกัน คือ พระพุทธเจ้าจะสอนให้มีสติเสียก่อนเพราะสติเป็นหลักธรรมที่สำคัญที่สุด ถ้าเจริญสติจนมีกำลังแล้ว ธรรมะอื่นๆ ก็จะเกิดขึ้นเอง นี่คือสิ่งที่พระพุทธเจ้ารับรองเอาไว้

เรา ต้องเข้ามาหาแก่นธรรม ต้องให้เห็นสาระของการปฏิบัติ ถ้าเห็นความถูกต้องแล้ว จะไม่มีสายนั้น สายนี้ เพราะธรรมะเป็นอันเดียวกัน คือธรรมของพระพุทธเจ้าเท่านั้น จะหมดความสงสัยในเรื่องของการปฏิบัติ เพราะรู้ตามความเป็นจริง”

หนังสืออริยมรรค ภาคปฏิบัติ - พระอาจารย์ครรชิต สุทฺธิจิตฺโต
..
..
ถ้าเราวางใจถูก
เหตุการณ์อะไรจะเกิดขึ้น
เดี๋ยวมันก็ผ่านไปแล้ว มันชั่วคราวเฉย ๆ
ถ้ากระทบอารมณ์ที่มันไม่ถูกใจบ้าง
เดี๋ยวมันก็ผ่านไป
เพราะมันเป็นแค่ปรากฏการณ์ที่มันเกิดขึ้น
เพราะเราอยู่ในโลก
ก็ต้องมีตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ
ก็ต้องมีการเกี่ยวข้องสัมผัสสัมพันธ์
มันก็ถูกใจบ้าง ไม่ถูกใจบ้าง
ถ้าเรามองเข้ามาที่จิต ถ้าถูกใจจิตก็เป็นอย่างหนึ่ง
ไม่ถูกใจ จิตก็เป็นอย่างหนึ่ง
เราไม่ส่งกระแสออกไปข้างนอก
ไม่ไปโทษข้างนอก ไม่ไปตำหนิข้างนอก
แต่เรา เพียรที่จะ แก้จิต เรา
เป็นเพราะ จิต ของเรานี่แหละ
มัน อยาก ให้เป็นอย่างที่เราต้องการ
แต่ความจริงมันไม่ได้เป็นอย่างนั้น
กลายเป็น ตัวอยาก ของเราเอง
ที่สร้าง ปัญหา ให้แก่เรา
นี่แหละคือ สัมมาทิฏฐิ

พระอาจารย์ครรชิต สุทฺธิจิตฺโต
วัดป่าภูไม้ฮาว จ.มุกดาหาร
http://phraajahnkanchit.com/