ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: 時々होशདང一རພຊຍ๛
« เมื่อ: ธันวาคม 28, 2015, 10:24:03 pm »

-
ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: ธันวาคม 28, 2015, 07:58:11 pm »

เขมาเขมสรณทีปิกคาถา

พาหุง เว สะระนัง ยันติ  ปัพพะตานิ วะนานิ จะ
มนุษย์เป็นอันมาก เมื่อเกิดภัยคุกคามแล้ว, ก็ถือเอาภูเขาบ้าง

อารามะทุกรุกขะเจต์ยานิ  มะนุสสา ภะยะตัชชิตา,
ป่าไม้บ้าง, อาราม และรุกขเจดีย์บ้าง เป็นสรณะ;

เนตัง โข สะระณัง เขมัง  เนตัง สะระณะมุตตะมัง,
นั่นไม่ใช่สรณะอันเกษมเลย, นั่น มิใช่สรณะอันสูงสุด;

เนตัง สะระณะมาคัมมะ  สัพพะทุกขา ปะมุจจะติ.
เขาอาศัยสรณะ นั่นแล้ว  ย่อมไม่พ้นจากทุกข์ทั้งปวงได้

โย จะ พุทธัญจะ ธัมมัญจะ สังฆัญจะ สะระนัง คะโต,
ส่วนผู้ใดถือเอาพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เป็นสรณะแล้ว;

จัตตาริ อะริยะสัจจาริ  สัมมัปปัญญายะ ปัสสะติ,
เห็นอริยสัจจ์ ความจริงอันประเสริฐสี่ ด้วยปัญญาอันชอบ;

ทุกขัง ทุกขะสะมุปปาทัง  ทุกขัสสะ จะ อะติกกะมัง
คือเห็นความทุกข์, เหตุให้เกิดทุกข์, ความก้าวล่วงทุกข์เสียได้,

อะริยัญจัฏฐังคิกัง มัคคัง  ทุกขูปะสะมะคามินัง
และหนทางมีองค์แปดอันประเสริฐ เครื่องถึงความระงับทุกข์;

เอตัง โข สะระณัง เขมัง  เอตัง สะระณะมุตตะมัง
นั่นแหละเป็นสรณะอันเกษม, นั่นเป็นสรณะอันสูงสุด

เอตัง สะระณะมาคัมมะ  สัพพะทุกขา ปะมุจจะติ.
เขาอาศัยสรณะ นั่นแล้ว ย่อมพ้นจากทุกข์ทั้งปวงได้

        พระสูตรชื่อ อัคคัญญสูตร ได้ทรงแสดงความเป็นมาของสังคมมนุษย์เป็นลำดับ  โดยเริ่มแต่เกิดมีสัตว์ขึ้นในโลกแล้วเปลี่ยนแปลงตามลำดับ ตามวิวัฒนาการ  จนเกิดมีมนุษย์ที่อยู่รวมกันเป็นหมู่เป็นพวกพ้อง  จึงเกิดความจำเป็นต้องมีการปกครอง   และมีการประกอบอาชีพ การงานต่างๆกัน  วรรณะทั้งสี่ก็เกิดจากความเปลี่ยนแปลง  ทรงแสดงว่าสิ่งเหล่านี้ มิใช่เป็นเรื่องของพรหมสร้างสรรค์  แต่ทรงแสดงว่าเกิดจากธรรม (ธรรมดา, กฎธรรมชาติ)หรือเป็นไปตามกฏปฏิจจสมุปบันธรรม  ทุกวรรณะประพฤติชั่วก็ไปอบายได้  ปฏิบัติธรรมก็บรรลุนิพพานได้.
อัคคัญญสูตร

 พระองค์ท่าน  เปรียบเหมือนบุคคลผู้หงายของที่คว่ำปิดอยู่,  เปิดของที่ปิด,  บอกทางแก่คนหลงทาง,
 หรือตามประทีปในที่มืด  ด้วยประสงค์ว่าผู้มีจักษุคือปัญญาจักขุจักเห็นรูปหรือเข้าใจได้นั่นเอง

-http://www.nkgen.com/445.htm