ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: 時々होशདང一རພຊຍ๛
« เมื่อ: กุมภาพันธ์ 26, 2016, 11:54:17 pm »




บทความที่เขียนไว้ครั้งที่แล้วได้ชวนคิด - ชวนคุยเรื่องเกี่ยวความตายไหน ๆ ก็เขียนไว้แล้ว ก็ขอเพิ่มเติมอีกสักหน่อยโดยรวมรวมและเรียบเรียงใหม่ เรามักเคยได้ยินเรื่องการพิจารณาความตายอยู่บ่อย ๆ เนือง ๆ มีหลาย ๆ คนพอพูดเรื่องความตายอุ๊ย ! ฟังไม่ได้ไม่มีเรื่องจะคุยหรืองัยมาคุยเรื่องตาย ๆ ๆ ๆ แต่หารู้ไม่ว่า เราตาย

อยู่ทุกขณะก่อนที่จะหายไปจากโลกนี้ซึ่งทุกคนจะต้องหายไปแน่ ๆ แล้วแต่ว่าใครจะหายไปก่อนใครควรทำอะไรไม่มีอะไรเกิดขึ้นมาลอย ๆ โดยปราศจากเหตุปัจจัย สิ่งที่นำมาซึ่งความปลาบปลื้มใจจริง ๆ ไม่ใช่ทรัพย์สินเงินทอง แต่เป็นความเข้าใจพระธรรมสูงสุด คือ ทำให้พ้นจากทุกข์ พ้นจากกิเลสซึ่งทรัพย์สินเงินทองไม่สามารถทำให้เป็นอย่างนี้ได้เลย




เข้าใจคือความกลัว คือ............เข้าใจทุกข์
ชนะความกลัวคือพ้นทุกข์
การเขาใจความกลัว
เพื่อพ้นจากความกลัวจึงเป็นเรื่องสำคัญ
มากที่สุดของชีวิต





[เหตุแห่งความกลัวตาย]


แม้ว่าเราทุกคนก็ต่างรู้ดีว่าความตายเป็นของธรรมดาที่จะหลีกเลี่ยงไม่พ้นแต่ถึงกระนั้น ก็ไม่วายที่หวาดกลัวต่อความตายพระพุทธเจ้าได้ตรัสถึงเหตุที่หวาดกลัวความตายไว้ดังนี้

บุคคลบางคนในโลกนี้เป็นผู้มีความกำหนัดยินดี ชอบใจมีตัณหาในกามทั้งหลายยังไม่หมดสิ้น เมื่อประสบกับความเจ็บไข้ป่วยหนัก บุคคลผู้นั้นก็มีควาทุกข์วิตกอย่างนี้ว่าเราต้องจาก กามทั้งหลายอันเป็นที่รักของเราไป จึงเศร้าโศกสะดุ้งต่อความตาย บุคคลบางคนในโลกนี้เป็นผู้มีความกำหนัดยินดี พอใจรักใคร่ในกายเมื่อประสบกับความเจ็บไข้ป่วยหนัก บุคคลผู้นั้นมีทุกข์วิตกอย่างนี้ว่าเราต้องละทิ้งกายอันเป็นที่รักของเราไป จึงเศร้าโศกสะดุ้งกลัวต่อความ

ตาย บุคคลบางคนในโลกนี้เป็นผู้ไม่ได้ทำกรรมดีไว้ ไม่ได้สร้างกรรมอันเป็นกุศลอันเป็นที่พึ่งไว้ แต่เป็นผู้ทำกรรมชั่ว สร้างบาปอกุศลไว้ เมื่อประสบกับความเจ็บไข้ป่วยหนัก บุคคลผู้นั้นมีความทุกข์วิตกอย่างนี้ว่ากรรมดีเราไม่ได้ทำไว้ กรรมเป็นบาปเราได้ทำไว้คติที่ไปของสัตว์ทั้งหลายที่ไม่ได้ทำกุศลกรรมไว้กรรมอันเป็นบาปได้กระทำไว้มากเพียงได ตัวเราละละจากโลกนี้ไปสู่ทุคติตามบาปกรรมที่ทำไว้ จึงเศร้าโสกสะดุ้งกลัวต่อความตาย


บุคคลบางคนในโลกนี้เป็นผู้มีความเคลือบแคลง
สงสัยในพระสัทธรรมเมื่อประสบกับความเจ็บไข้ป่วยหนัก
บุคคลผู้นั้นมีความทุกข์วิตกอย่างนี้ว่าเรา

เป็นผู้มีความเคลือบแคลงสงสัยในพระสัทธรรมจึงสะดุ้งกลัวต่อความตายกล่าวโดยย่อ

เหตุที่เรากลัวต่อความตายมี 4 ประการคือ

1.เหตุเพราะตัณหาในกามคุณ 5 (รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส)

2.เหตุเพราะพอใจรักใคร่ในกาย ยึดมั่นถือมั่นในกายว่าเป็นเรา ของเรา

3.เหตุเพราะไม่ได้สร้างกรรมดีไว้ จึงกลัวว่าตายแล้วไม่ได้ไปสู่ภพภุมิที่ดี หรือ

เพราะเหตุที่ทำกรรมชั่วไว้จึงกลัวว่าตายแล้วไปตกนรก

4.เพราะไม่มีศรัทธาในศาสนาจึงขาดที่พึ่งทางจิตใจ

ด้วยเหตุ 4 ประการนี้ทำให้บุคคลเกิดความกลัวเมื่อจะละจากโลกนี้ไป


เรียบเรียงโดยพระอาจารย์ มิตสุโอะ คเวสโก

ภาคผนวกและ 參考書目 พระ ไพศาล วิสาโล


สิ่งลี้ลับแปลกหน้านั้นย่อมน่ากลัวสำหรับเราเสมอ แต่เมื่อใดที่เราคุ้นชินกับมัน มันก็ไม่น่ากลัวอีกต่อไป ความตายก็เช่นกัน การเตรียมใจรับมือกับความตายที่ดีที่สุดคือ การทำใจให้คุ้นชินกับมันเป็นเบื้องแรก เพื่อมิให้มันเป็นสิ่งแปลกหน้าสำหรับเราอีกต่อไป เราสามารถทำใจให้คุ้นชินกับความตายได้ด้วยการระลึกนึกถึงความตายอยู่เสมอ นั่นคือเจริญ มรณสติ อยู่เป็นประจำ





हस्ताक्षर......時々๛कभी कभी๛