ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: เมษายน 02, 2016, 01:00:52 pm »

[350] ปัจจัย 24 (ลักษณะหรืออาการแห่งความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งทั้งหลาย ที่สิ่งหนึ่งหรือสภาวธรรมอย่างหนึ่ง เป็นองค์ประกอบที่ช่วยเอื้อ เกื้อหนุน ค้ำจุน เป็นเหตุ หรือเป็นเงื่อนไขให้สิ่งอื่น หรือสภาวธรรมอย่างอื่น เกิดขึ้น คงอยู่ หรือเป็นไปอย่างใดอย่างหนึ่ง - condition; mode of conditionality or relation)
       1. เหตุปัจจัย (ปัจจัยโดยเป็นเหตุ - root condition)
       2. อารัมมณปัจจัย (ปัจจัยโดยเป็นอารมณ์ - object condition)
       3. อธิปติปัจจัย (ปัจจัยโดยเป็นเจ้าใหญ่ - predominance condition)
       4. อนันตรปัจจัย (ปัจจัยโดยเป็นภาวะต่อเนื่องไม่มีช่องระหว่าง - immediacy condition)
       5. สมนันตรปัจจัย (ปัจจัยโดยเป็นภาวะต่อเนื่องทันที - contiguity condition)
       6. สหชาตปัจจัย (ปัจจัยโดยเกิดร่วมกัน - connascence condition)
       7. อัญญมัญญปัจจัย (ปัจจัยโดยเป็นอาศัยซึ่งกันและกัน - mutuality condition)
       8. นิสสยปัจจัย (ปัจจัยโดยเป็นที่อาศัย - dependence condition)
       9. อุปนิสสยปัจจัย (ปัจจัยโดยเป็นเครื่องหนุนหรือกระตุ้นเร้า - decisive-support condition; inducement condition)
       10. ปุเรชาตปัจจัย (ปัจจัยโดยเกิดก่อน - pernascence condition)

       11. ปัจฉาชาตปัจจัย (ปัจจัยโดยเกิดหลัง - postnascence condition)
       12. อาเสวนปัจจัย (ปัจจัยโดยการซ้ำบ่อยหรือทำให้ชิน - repetiton condition)
       13. กรรมปัจจัย (ปัจจัยโดยเป็นกรรมคือเจตจำนง - kamma condition)
       14. วิปากปัจจัย (ปัจจัยโดยเป็นวิบาก - kamma-resuit condition)
       15. อาหารปัจจัย (ปัจจัยโดยเป็นอาหาร คือเป็นเครื่องหล่อเลี้ยง - nutriment condition)
       16. อินทรียปัจจัย (ปัจจัยโดยเป็นเจ้าการ - faculty condition)
       17. ฌานปัจจัย (ปัจจัยโดยเป็นภาวะจิตที่เป็นฌาน - absorption condition)
       18. มรรคปัจจัย (ปัจจัยโดยเป็นมรรค - path condition)
       19. สัมปยุตตปัจจัย (ปัจจัยโดยประกอบกัน - association condition)
       20. วิปปยุตตปัจจัย (ปัจจัยโดยแยกต่างหากกัน - dissociation condition)
       21. อัตถิปัจจัย (ปัจจัยโดย[ต้อง]มีอยู่ - presence condition)
       22. นัตถิปัจจัย (ปัจจัยโดย[ต้อง]ไม่มีอยู่ - absence condition)
       23. วิคตปัจจัย (ปัจจัยโดย[ต้อง]ปราศไป - disappearance condition)
       24. อวิคตปัจจัย (ปัจจัยโดย[ต้อง]ไม่ปราศไป - non-disappearance condition)

       ปัจจัย 24 นี้ เป็นสาระของคำอธิบายทั้งหมดในคัมภีร์ปัฏฐานแห่งพระอภิธรรมปิฎก คือพระไตรปิฎกบาลี 6 เล่ม ตั้งแต่เล่ม 40 ถึงเล่ม 45

พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)
พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)