ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: 時々होशདང一རພຊຍ๛
« เมื่อ: พฤษภาคม 07, 2016, 12:13:46 am »










ถ่ายภาพโดย....時々๛༢༠༡༦ कभी कभी 一

เป็นหลักการขั้นพื้นฐาน 3 ประการในการปฏิบัติพุทธธรรมของพุทธศาสนิกชนทั่ว ๆ ไป

คำว่า ศรัทธา = faith หมายถึงมีความเชื่อมั่นในพระรัตนตรัยอย่างไม่คลอนแคลนและยินยอมอุทิศนตนทำความดีเพื่อประโยชน์สุขของส่วนรวม

คำว่า ปฏิบัติ = pracitce หมายถึง การช่วยกันเผยแพร่คำสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าโดยไม่เลือกชาิติ - ภาษา - ชนชั้นวรรณะ

คำว่า ศึกษา = study หมายถึง ศึกษาให้เข้าใจในพุทธธรรม

ทั้ง 3 ประการนี้ ความศรัทธา ถือเอาเป็นพื้นฐานที่สำคัญที่สุดในการที่จะบรรลุถึงความสุข - และความ ศรัทธาจะทำให้เกิดการปฏิบัติและการศึกษาควบคู่กันไปและสอนให้ผู้อื่นได้ปฏิบัติด้วย จงเชื่อในพระธรรมคำสอนและจะได้รับความคุ้มครองจาก 3 พระพุทธะ จงมีความขยันหมั่นเพียรในการ ศรัทธา - ปฏิบัติ - ศึกษาและช่วยเหลือผู้คนที่กำลังรอความช่วยเหลือนั่นแหละเราจะเป็นพระโพธิสัตว์จากพื้นโลกได้ในทุก ๆ วัน


ทุกวันนี้มีผู้คนที่มีความศรัทธาต่อสัทธรรมปุณฑริกสูตร ความศรัทธาของบางคนคล้ายกับไฟในขณะที่ความศรัทธาของส่วนที่เหลือคล้ายกับน้ำ เมื่อพวกแรกฟังคำสอน ความกระตือรือร้นของพวกเขาโชติช่วงคล้ายดั่งไฟ แต่พวกเขาโน้มเอียงที่จะละทิ้งความศรัทธาของพวกเขา การมีความศรัทธาคล้ายกับน้ำ หมายถึงศรัทธาอย่างต่อเนื่องไม่เคยถดถอยเนื่องจากท่านมาเยี่ยมอาตมาบ่อยโดยไม่คำนึงถึงความยากลำบาก ความศรัทธาของท่านเปรียบเทียบได้กับน้ำไหล(บทธรรมนิพนธ์ ความศรัทธา 2 ชนิด)

วันนี้ ในโอกาสพิธีโอเคียวบิสำหรับเดือนกันยายน อาตมาอ่านพระสูตรและสวดไดโมขุอย่างจริงใจร่วมกับท่าน เช่นกันอาตมาถวายคำอธิษฐานที่จริงใจเพื่อความสงบสุขของผู้ที่ล่วงลับไปแล้วตามที่ท่านร้องขอให้ประกอบพิธีนอกจากนี้อาตมาอธิษฐานอย่างจริงใจขอให้ท่านกำจัดบาปและกรรมด้านลบของท่านในชาตินี้และอดีตชาติ เพื่อท่านทวีคูณความศรัทธาของท่าน เพื่อท่านเพลิดเพลินในชีวิตที่ปลอดภัยและยืนยาว เพื่อความสงบสุขและความกลมเกลียวปกคลุมไปทั่วบ้านของท่านและเพื่อความต่อเนื่องของธรรมะสูงสุด เช่นกันอาตมาอธิษฐานเพื่อความก้าวหน้ายิ่งขึ้นของฮกเคโกะแห่งวัดเมียวชินจิ

บางท่านอาจจะรู้จักข้อความจากบทธรรมนิพนธ์สำหรับเดือนนี้ ในตอนนี้ พระนิชิเร็นฯบรรยาย ความศรัทธาคล้ายกับไฟ และ ความศรัทธาคล้ายกับน้ำ

ความศรัทธาคล้ายกับไฟ บรรยายให้เห็นความศรัทธาและการปฏิบัติของบุคคลหนึ่งที่สวดไดโมขุที่จริงใจ มาสักการะที่วัด เข้าร่วมการประชุมในท้องถิ่น และชากุบูกุอย่างขยันขันแข็ง – เมื่อเขามีความตั้งใจแน่วแน่ในตอนแรก อย่างไรก็ตาม เขายืนหยัดการกระทำของเขาเมื่อเขามีความตั้งใจแน่วแน่เท่านั้น เมื่อสิ่งแวดล้อมทำให้เขาเกิดความยุ่งยาก เมื่อเขายุ่งอยู่กับงาน หรือเมื่อเขากล่าวคำแก้ตัวบางประการในการไม่มาเยือนวัด เขาละเลยการปฏิบัติของเขาอย่างสิ้นเชิงและเหินห่างจากวัดและจากความศรัทธา ทันทีหลังจากเขาฟังคำเทศนาหรือประสบการณ์จากผู้นับถือ ความล้ำค่าของความศรัทธาประทับใจเขาและเขารู้สึกขอบคุณที่เขาโชคดีมากที่ได้นับถือธรรมะนี้ เขาตัดสินใจปฏิบัติอย่างขยันขันแข็ง ราวกับว่าเปลวไฟขนาดใหญ่ลุกไหม้อยู่ในหัวใจของเขา อย่างไรก็ตาม เมื่อเขาออกจากสถานที่นั้นและเมื่อเวลาผ่านไป ความตั้งใจแน่วแน่ของเขาค่อยๆลดลงและหายไป ในที่สุด เขาตำหนิวัดหรือผู้นับถือในเรื่องการหมดความศรัทธาของเขาและเริ่มบ่นและคร่ำครวญ

ถ้าบุคคลหนึ่งไม่มาสักการะที่วัด และไม่เข้าร่วมทำหน้าที่และการประชุมของฮกเคโกะชั่วขณะหนึ่ง ถึงแม้ว่าเขาไม่มีบุคลิกภาพที่มีอารมณ์แปรปรวนง่ายหรืออารมณ์ร้อน เขาจะค่อยๆเหินห่างจากความศรัทธา จะไม่เอาใจใส่เกี่ยวกับการปฏิบัติของเขาอีกต่อไป และในที่สุดจะละทิ้งความศรัทธาของเขา ภายใต้สภาพเช่นนี้ เขาสูญเสียความสามารถของเขาในการพบคุณค่าของความศรัทธา

โดยสรุป ความศรัทธาคล้ายกับไฟ หมายถึงท่าทีต่อความศรัทธาที่อยู่บนพื้นฐานของอารมณ์และความรู้สึก นี่คือท่าทีที่ไม่น่าเชื่อถือต่อเป้าหมายที่ยิ่งใหญ่ของพวกเราในการบรรลุการรู้แจ้งในชาตินี้



http://www.tairomdham.net/index.php/topic,10573.0.html





時々๛༢༠༡༦ कभी कभी 一....7 พฤษภา 2559