ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: 時々होशདང一རພຊຍ๛
« เมื่อ: พฤษภาคม 15, 2016, 04:09:19 pm »



http://youtu.be/lWnaESYpHec





https://uppic.cc/d/6kNn



ในสมัยเป่ยซ่งซ่งเหนือมีจิตรกรผู้หนึ่งนามว่า เหวินถง ฉายา อี๋ว์เข่อ ซึ่งเป็นจิตรกรผู้มีฝีมือในการวาดภาพไผ่อันเลื่องลือทั้งใกล้ไกลทุก ๆ วันจะต้องมีผู้คนมาขอร้องให้เขาวาดภาพไผ่ให้ถึงหน้าที่พำนัก
เคล็ดลับใดกันหนอ ที่ทำให้เหวินถง มีฝีมือวาดไผ่ที่เก่งกาจปานนั้น ?
       
ความจริง เหวินถงได้ปลูกต้นไผ่หลากประเภทหลายพันธุ์ไว้รอบ ๆ ที่พำนัก และไม่ว่าจะเป็นฤดูร้อน ฤดูหนาว ใบไม้ผลิหรือใบไม้ร่วง กลางวันหรือกลางคืน หรือว่าเมื่อใดก็แล้วแต่ เขามักจะสังเกตการเปลี่ยนแปลงและการเติบโตของต้นไผ่อยู่ตลอดเวลา เขาสังเกตทั้งขนาดของลำต้น ความยาวของปล้องไผ่ รูปร่างของใบไผ่ สีสัน และไม่ว่าเขาพบสิ่งใดที่ผิดแผก ก็จะรีบบันทึกเป็นภาพวาดออกมาบนกระดาษ
       
เมื่อผ่านเดือนปีไปกับการกระทำเช่นนี้เป็นนิจ ทำให้ภาพของไผ่ในแต่ละฤดูกาล แต่ละสภาพอากาศและแต่ละช่วงเวลาได้ประทับอยู่ในใจของเขาทั้งสิ้น จากนั้นเพียงตั้งใจหยิบพู่กันขึ้นมา เพ่งมองบนกระดาษที่ว่างเปล่า ภาพของไผ่ในลักษณะต่าง ๆ ที่สั่งสมจากการสังเกตมาชั่วนาตาปีก็จะปรากฏขึ้นในมโนภาพของเขาทันที ดังนั้นทุกครั้งที่วาดภาพไผ่ เหวินถงจึงมีท่าทางผ่อนคลายและมั่นใจ ภาพที่รังสรรค์ขึ้นมาก็ล้วนแต่พลิ้วไหวงดงามราวกับไผ่จริง ๆ
       
ยามที่มีผู้คนยกย่องฝีมือวาดภาพของเขา เหวินถงมักถ่อมตนและกล่าวว่า ข้าเพียงนำไผ่ที่สั่งสมจนคุ้นเคยอยู่ในจิตใจ วาดออกมาเป็นภาพก็เท่านั้น
       
ครั้งหนึ่งมีชายหนุ่มผู้หนึ่งต้องการศึกษาการวาดภาพไผ่ จึงไปกราบนักกวีชื่อก้อง เฉาปู่จือ ให้เป็นอาจารย์ เนื่องจากสืบทราบมาว่า เฉาปู่จือ ยกย่องชื่นชมเหวินถง และได้ศึกษาภาพวาดของเหวินถงมาอย่างลึกซึ้ง ทว่าเฉาปู่จือเพียงมอบบทกวีให้ชายหนุ่มผู้นั้น 1 บท ความว่า อี๋ว์เข่อวาดไผ่ ในใจมีไผ่ว์เข่อ เป็นฉายาของเหวินถง
       
ซยงโหย่วเฉิงจู๋ ใช้เพื่อเปรียบเปรยถึงการทำกิจการงานใดก็ตาม เมื่อมีการเตรียมความพร้อมก่อนเริ่มทำงาน ย่อมทำให้งานนั้นสำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี นอกจากนี้บางครั้งยังใช้เพื่อเปรียบเทียบกับเวลาประสบเหตุการณ์ไม่คาดฝันสามารถรักษาความสุขุมเอาไว้ได้
....น.ส.พ ผู้จัดการ



https://img.live/image/iDnUr

https://img.live/image/iDPRi