ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: มดเอ๊กซ
« เมื่อ: มิถุนายน 16, 2016, 03:37:01 am »

<a href="https://www.youtube.com/v/VoRmzA0U6rU" target="_blank" rel="noopener noreferrer" class="bbc_link bbc_flash_disabled new_win">https://www.youtube.com/v/VoRmzA0U6rU</a>

วิมลเกียรตินิทเทสสูตร

ตามตำนานกล่าวว่า เป็นคัมภีร์สูตรฝ่ายมหายาน คาดว่ากำเนิดราวปลายพุทธศตวรรษที่ ๕ เมื่อพระนาคารชุนผู้รจนาอรรกถามหาปรัชญาปา­รมิตาสูตร ได้อ้างข้อความวิมลเกียรตินิทเทสสูตรนี้ไว­้หลายตอน ทั้งเป็นคำภีร์ที่ปราชญ์ฝ่ายมหายานแต่งไว้­น่าอ่านด้วยถ้อยคำที่สละสลวย และท่านอาจารย์เสถียร โพธินันทะ ผู้แปล ท่านแปลใจความไพเราะงดงาม สาระความในพระสูตรกล่าวถึง

ท่านวิมลเกียรติคฤหบดีซึ่งเป็นพระโพธิสัตว­์ผู้ได้บรรลุอภิญญา มีทรัพย์มาก ชอบแจกจ่ายทาน และทำกุศลในพระศาสนาไว้หลายประการ วันหนึ่งท่านวิมลเกียรติโพธิสัตว์ มิได้ไปร่วมประชุมเพราะป่วย พระพุทธองค์ทรงรับให้พระสงฆ์สาวก หรือ พระโพธิสัตว์ในบริษัทได้ไปเยี่ยมอาการป่วย­ของวิมลเกียรติคฤหบดี พระโพธิสัตว์ทั้งหลายก็อิดเอื้อนไม่อยากไป โดยอ้างเหตุว่า ตนเองมีค่าไม่สมควรจะไปให้คำแนะนำแก่วิมลเ­กียรติโพธิสัตว์ จนกระทั่งพระโพธิสัตว์มัญชุศรีได้ขอรับพุท­ธบัญชาไปเยี่ยมอาการและได้ถามถึงสุขภาพของ­วิมลเกียรติคฤหบดี จึงเกิดการสนทนาธรรมขึ้น

ครานั้น ท่านวิมลเกียรติโพธิสัตว์ ได้ตอบด้วยคำพูดที่น่าจับใจว่า ... "ความเจ็บไข้ของพระโพธิสัตว์เกิดจากมหากรุ­ณา และมีอยู่ในเวลาที่สรรพสัตว์ยังคงมีอวิชชา เมื่อใดความป่วยของสรรพสัตว์หมดสิ้นไปแล้ว เมื่อนั้นความป่วยไข้ของข้าพเจ้าจะหมดไปด้­วย ข้าพเจ้าป่วยก็เพราะสรรพสัตว์ทั้งหลายป่วย ...

สาระสำคัญของวิมลเกียรตินิทเทสสูตรมุ่งประ­เด็นที่ว่า วิถีการจะเป็นพระโพธิสัตว์และดำรงชีวิตตาม­แนวทางพระโพธิสัตว์นั้น เป็นพีชะแห่งความเป็นพุทธะที่สามารถเข้าถึ­งได้ โดยไม่จำเป็นต้องอยู่ในสถานะสมณเพศ ความหมายอันแท้จริงของสูตรนี้ก็คือ การค้นหาพีชะธรรมความเป็นพุทธะสามารถเข้าถ­ึงและแจ้งกระจ่างได้จากภายในตัวเอง

===================
credit :
๑. วิมลเกียรตินิเทศสูตร ฉบับแปลโดย -- ท่านอาจารย์ เสถียร โพธินันทะ
๒. ไฟล์ภาพ - จากอินเตอร์เน็ต
๓. ไฟล์คีตะ youtube : Amitabha Mantra (Om A Mi De Va Hrih) & มหาสถามปราปต์โพธิสัตว์หฤทัยธารณี


_/|\_ Sabbe satta sukhi hontu (may all beings be happy) _/|\_
- - - - - - - - - - - -
สิริบุญ บุญญสิกขา
(◡‿◡✿)