ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: 時々होशདང一རພຊຍ๛
« เมื่อ: มิถุนายน 19, 2016, 12:22:08 am »




เงียบเหงาทั้งประเทศเศรษฐกิจทรุดหนัก
ความหวาดระแวงเกิดขึ้นว่าวันไหนเราจะ
ติด COVID - 19


วันนี้คือวันที่ 19 มิถุนยน 2559 ขณะที่พิมพ์คอลัมท์อยู่ขณะนี้เวลา 0.19 นาฬิกาคือย่างเข้าวันที่ 19 เพียงไม่กี่นาทีชักจะง่วงนอนแล้ว เดี๋ยวจะเข้านอนดีกว่าฝืนสังขารไม่ไหว เข้านอนดีกว่า ราตรีสวัสดิ์

หัวข้อธรรมสั้น ๆ ฌานไม่มีแก่ผู้ไม่มีปัญญา ปัญญาไม่มีแก่ผู้ไม่มีฌาน ฌานและปัญญามีในผู้ใด ผู้นั้นย่อมอยู่ใกล้นิพพาน นตฺถิ ฌานํ อปญฺญสฺส ปญฺญา นตฺถิ อฌายโต ยมฺหิ ฌานญฺจ ส เว นิพฺพานสนฺติเกธรรมบท 25/54

กำลังใจ.....ขอให้ข้ามพ้นอุปสรรค

ความยากลำบากทั้งหลายที่เรากำลังเผชิญอยู่

ความตั้งใจที่จริงใจและก้าวหน้าอย่างเด็ดเดี่ยว

มุ่งสู่การบรรลุเป้าหมายที่รุ่งโรจน์

พร้อมด้วยจิตใจที่เร่าร้อนของเรา

ลุกโชนเหมือนหัวใจ--ราชสีห์

ขณะนี้เป็นเวลาที่พวกเราต้องคำราม

การกระทำอย่างเด็ดเดี่ยว

ด้วยจังหวะที่ไม่มีอะไรมาเอาชนะได้

ขอให้มีชัยชนะอย่างสมบูรณ์ในทุกความ

เพียรพยายามที่เราลงมือทำ


กำลังใจ......การเรียนรู้เป็นกระบวนการตลอดชีวิตอย่างแท้จริง เราไม่ควรเฉื่อยชาหรือถอดใจแต่ควรจะรับมืออย่างใจจดใจจ่อและกล้าหาญในแต่ละวัน ทุก ๆ วันขอให้แลกเปลี่ยนทัศนะกับบุคคลที่มีความคิดและตั้งใจฟังอย่างกระตือรือร้นในสิ่งที่พวกเขาเล่ามา ทำให้เราได้รับบทเรียนและทัศนะที่ลึกซึ้งเกี่ยวกับหนทางของชีวิตของเราเห็นได้ชัดว่า ด้วยความเพียรพยายามที่ไม่หยุดหย่อนนั้น ทำให้เราค้นพบและเชื่อมกับสายแร่แห่งปัญญา ความสร้างสรรค์และความมั่นใจอย่างไม่หมดสิ้น

The basic Buddhist practice of Soka Gakkai members is chanting Nam-myoho-renge-kyo, reciting portions of the Lotus Sutra (referred to as gongyo) and sharing the teachings of Buddhism with others in order to help them overcome their problems.

A group of people sitting in a circle on an open mountain top
Soka Gakkai members in Peru at Machu Picchu [© Seikyo Shimbun]
The practice of chanting Nam-myoho-renge-kyo was established by Nichiren (1222–82), a Japanese Buddhist priest who sought to restore Buddhism to its original intended form and identified the Lotus Sutra as the core teaching of Shakyamuni Buddha.

Central to the practice of Nichiren Buddhism is the Gohonzon, a scroll inscribed by Nichiren containing Chinese and Sanskrit characters that Soka Gakkai members focus on while chanting. The Gohonzon aids people in the process of perceiving and bringing forth the life condition of Buddhahood from within their lives.