ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: มดเอ๊กซ
« เมื่อ: มิถุนายน 30, 2016, 03:21:07 am »





พื้นที่ชีวิต - วิถีแห่งซิกข์

   ศาสนาซิกข์ ถือเป็นศาสนาที่ค่อนข้างใหม่ มีอายุราว 500 ปี ประเทศไทยมีชาวซิกข์อพยพมาอาศัยและตั้งรกรากอยู่ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 ส่วนใหญ่เป็นชาวซิกข์จากแคว้นปัญจาบ ประเทศอินเดีย ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของศาสนาซิกข์

      สำหรับชาวซิกข์ในไทย เริ่มต้นตั้งชุมชนในย่านพาหุรัด และประกอบอาชีพขายผ้าเป็นหลักจนถึงปัจจุบัน มีชาวซิกข์อยู่ในไทยประมาณ 70,000 คนมีวัดซิกข์อยู่ทั่วประเทศราว 17 แห่ง

      ติดตาม นิ้วกลม เดินทางสู่วัดซิกข์ในย่านพาหุรัด ซึ่งถือว่าเป็นวัดซิกข์ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทยและเป็นศูนย์กลางการประกอบพิธีกรรมของชาวซิกข์ ร่วมพูดคุยเพื่อเรียนรู้หลักปรัชญา แนวคำสอนและวิถีปฏิบัติตามแบบชาวซิกข์ที่ดี ในรายการ พื้นที่ชีวิต ตอน วิถีแห่งซิกข์

<a href="https://www.youtube.com/v/NMdJIIHmLGs" target="_blank" rel="noopener noreferrer" class="bbc_link bbc_flash_disabled new_win">https://www.youtube.com/v/NMdJIIHmLGs</a>


ธรรมเป็นสุข ตอน วิถีธรรมแห่งซิกข์

เมื่ออารยะธรรมแดนภารตะอินเดีย แพร่กระจายเข้ามาในประเทศไทยเมื่อหลายร้อยกว่าปีที่ผ่านมา พวกเขาได้เข้ามาสร้างเนื้อสร้างตัว จนกลายเป็นมหาเศรษฐีไปไม่มากก็น้อย ด้วยความเป็นเอกลักษณ์ของชาวอินเดียประกอบกับการมีชาวอินเดียอาศัยอยู่ในบริเวณนี้อย่างหนาแน่น นั่นทำให้พื้นที่แถบนี้ถูกขนานนามให้เป็น "Little India" เมืองไทย แต่เมื่อมีชุมชนก็ย่อมมีศาสนาสถานประจำชุมชนเพื่อเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจให้ประชาชน และวัดซิกข์ เป็นศาสนสถานแห่งหนึ่งซึ่งกลายเป็นจุดศูนย์รวมความศรัทธาของผู้คนในบริเวณนี้โดยที่ไม่ได้จำกัดเฉพาะชาวอินเดียเท่านั้น ซึ่งทุกท่านจะได้เรียนรู้ถึงวิถีธรรมแห่งซิกข์ ความเชื่อ ความศรัทธาของชาวอินเดีย ที่น้อยคนนักจะเคยได้สัมผัส


<a href="https://www.youtube.com/v/vMB1ULMhKWc" target="_blank" rel="noopener noreferrer" class="bbc_link bbc_flash_disabled new_win">https://www.youtube.com/v/vMB1ULMhKWc</a>

<a href="https://www.youtube.com/v/cPlVwG3AbJ0" target="_blank" rel="noopener noreferrer" class="bbc_link bbc_flash_disabled new_win">https://www.youtube.com/v/cPlVwG3AbJ0</a>

<a href="https://www.youtube.com/v/0TT5Y7viPJo" target="_blank" rel="noopener noreferrer" class="bbc_link bbc_flash_disabled new_win">https://www.youtube.com/v/0TT5Y7viPJo</a>

<a href="https://www.youtube.com/v/C-WrBBCk7LE" target="_blank" rel="noopener noreferrer" class="bbc_link bbc_flash_disabled new_win">https://www.youtube.com/v/C-WrBBCk7LE</a>