ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

ตัวหนา ตัวเอียง ตัวขีดเส้นใต้ ตัวมีขีดกลาง | จัดย่อหน้าอิสระ จัดย่อหน้าชิดซ้าย จัดย่อหน้ากึ่งกลาง จัดย่อหน้าชิดขวา
ใส่แฟลช ใส่รูป ใส่ไฮเปอร์ลิ้งค์ ใส่อีเมล์ ใส่ลิ้งค์ FTP | ตัวเรืองแสง ตัวมีเงา ตัวอักษรวิ่ง | ตัวยก ตัวห้อย ตัวพิมพ์ดีด | ใส่ตาราง ใส่โค้ด ใส่การอ้างถึงคำพูด | Insert Unordered List Insert Ordered List เส้นขวาง Insert Progress Bar | Remove Formatting Toggle View
Verification:
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: มดเอ๊กซ
« เมื่อ: กรกฎาคม 06, 2016, 01:23:55 pm »



สาระจากเสวนาธรรมในวันนี้ โดยพระอาจารย์กุงกา ซังโป ริมโปเช 18 กันยายน 2556 บ้านมูลนิธิพันดารา

ปัญญาต้องเริ่มจากการฟัง ไปสู่การคิดใคร่ครวญ ไปจนถึงการทำสมาธิ ถ้าเราไม่อยากฟังธรรม ไม่อยากทำความเข้าใจเนื้อหาของพระธรรม แต่ทำสมาธิเลย เราจะเอาสิ่งใดไปทำสมาธิ พระอาจารย์สาเกียบัณฑิตกล่าวไว้ว่า เหมือนกับผู้ปีนเขาแต่ไม่มีมือ ก็ไม่สามารถปีนได้สำเร็จ

การเจริญปัญญาจึงต้องเริ่มด้วยการฟังเสมอ จากปัญญาสามขั้นตอนนี้ ริมโปเชได้โยงไปกับเรื่องบารมีหกของพระโพธิสัตว์ ซึ่งเป็นการอธิบายอย่างลึกซึ้งถึงบารมีแต่ละประเภทซึ่งเปี่ยมไปด้วยข้อคิดทางธรรม ทานบารมีจะเป็นปัญญายิ่งใหญ่หากเราตั้งจิตโดยไม่หวังผลตอบแทน ไม่ทำบุญเพราะอยากให้เราได้ดี ให้เราได้ร่างกายที่แข็งแรงโดยไม่คิดถึงผู้อื่น ท่านขอให้เราทำบุญโดยคำนึงถึงสรรพสัตว์ที่เคยเป็นพ่อแม่มาก่อน ขอให้ผลบุญของเราทำให้สัตว์เหล่านั้นประสบแต่ความสุขและหลุดพ้นจากความทุกข์ของสังสารวัฏ หากการให้ของเราทำด้วยจิตอันเปี่ยมด้วยปัญญา กิเลสในใจจะลดลงไปเรื่อยๆ จนวันหนึ่งจิตมนุษย์ปุถุชนของเราจะเหมือนกับจิตของพระพุทธเจ้าที่เปี่ยมไปด้วยปัญญากว้างใหญ่ไร้ขอบเขต

การรักษาศีลจะนำเราไปสู่สมาธิ เพราะศีลกำจัดกิเลสที่พอกพูนในจิตใจมาหลายภพชาติ ศีลปกป้องเราจากอบายภูมิ แต่ในฐานะที่เป็นผู้รักษาศีล เราต้องระมัดระวังที่จะไม่เย่อหยิ่ง คิดว่าตัวเองเป็นผู้ถือศีลจะมีสถานะที่ดีกว่าคนอื่น เมื่อเข้าใจประเด็นนี้ก็เท่ากับเข้าถึงปัญญาแห่งศีลบารมี

หลังพักอาหารเย็น ริมโปเชอธิบายบารมีทั้งหกจนจบ แล้วกล่าวถึงพระมัญชุศรี ผู้เป็นพระปัญญาธิคุณของพระพุทธเจ้า อานิสงส์ของการปฏิบัติบูชาพระองค์ ท่านย้ำว่า ศรัทธาเป็นหัวใจของการปฏิบัติธรรมที่จะนำเราไปสู่หนทางแห่งการตรัสรู้ธรรม และพระพุทธเจ้าทุกพระองค์ต่างเท่าเทียมกัน ไม่มีองค์ใดสำคัญหรือเก่งกว่าองค์ใด ในตอนสุดท้าย ริมโปเชฝากข้อคิดว่า กรุณากับปัญญาเป็นของคู่กัน บ่มเพาะปัญญาต้องไปพร้อมกับการบ่มเพาะกรุณา

จาก https://krisadawan.wordpress.com/page/2/