ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: มดเอ๊กซ
« เมื่อ: กรกฎาคม 26, 2016, 04:14:22 pm »



น่าทึ่งจริงๆ พระพุทธรูปโบราณงดงามล้ำค่า 300 องค์ ชาวญี่ปุ่นนักสะสมบริจาคคืนให้พม่า

ASTVผู้จัดการออนไลน์ - ชาวพุทธจากทั่วสารทิศของประเทศ ได้ทยอยกันเดินทางเข้านครย่างกุ้ง เพื่อกราบไหว้บูชาพระพุทธโบราณ จำนวน 301 องค์ ซึ่งมีนักสะสาวญี่ปุ่นผู้เคร่งครัดในพุทธศาสนาผู้หนึ่งบริจาคให้

เจ้าอาวาสวัดกล่าวว่า เป็นเรื่องที่น่าทึ่งที่มีชาวต่างชาติคนหนึ่งสามารถเก็บสะสมพระพุทธรูปเก่าแก่จาก 7 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ของประเทศเอาไว้ในบ้าน

สำนักข่าวอิรวดีรายงาน พร้อมแสดงภาพถ่าย พระพุทธรูปสวยงามปางต่างๆ ที่อยู่ในสภาพดีเยี่ยม อันแสดงให้เห็นการเก็บรักษาที่ดี



 พระพุทธรูปเก่าแก่ทุกองค์ล้วนมีพุทธลักษณ์งดงาม ประดิษฐานรวมกันเอาไว้ที่วัดออง ซาบู ดอยา ธรรมะ ไย๊คตา (Aung Zabu Tawya Dhamma Yeiktha) ในย่านชานเมืองของกรุงเก่า

มีตั้งแต่สมัยอาณาจักรพุกาม (พ.ศ.1392-1840) สมัยปินนา (Pinya) อังวะ (Ava) ตองอู (Toungoo) ทะกอน (Tagaung) จนถึงสมัยราชวงศ์โคนบอน (Konbaung) ของพระเจ้าอลองพญา ซึ่งเป็นราชวงศ์สุดท้ายในพม่า

อิรวดีอ้างนาย “คุมาโนะ” (Kumano) นักสะสมชาวญี่ปุ่น ซึ่งบอกเรื่องนี้ต่อเจ้าอาวาส



 นายคุมาโนะ เคยนับถือคริสต์ศาสนา แต่ครั้งหนึ่งหลังจากได้ไปเยือนทุ่งเจดีย์พุกาม โบราณสถานสำคัญ ทั้งในทางประวัติศาสตร์ และทางศาสนา ก็ได้เปลี่ยนมานับถือุทธศาสนาด้วยความเลื่อมใสศรัทธาเป็นการส่วนตัว

ชาวญี่ปุ่นสมรสกับหญิงชาวพม่า และอาศัยอยู่ในพม่า จากนั้นก็ได้ขออนุญาตต่อทางการเพื่อขอมีส่วนร่วมในการทำนุบำรุง ฟื้นฟูวัด กับเจดีย์ในพุกาม



 ตามคำบอกเล่าของเจ้าอาวาส นายคุมาโนะ ได้เริ่มเก็บสะสมพระพุทธรูปเอาไว้ในบ้านพัก ด้วยจุดประสงค์เพื่อกราบไหว้บูชาตั้งแต่แรก

ซึ่งเจ้าอาวาสบอกแก่อิรวดีว่า เป็นเรื่องที่น่าทึ่งที่เขาสามารถเก็บสะสมพระพุทธรูปเก่าแก่เอาไว้ได้มากมาย ซึ่งจากกาลเวลาแห่งยุคสมัยต้นๆ พระพุทธรูปบางองค์อาจมีอายุ 700-800 ปี



นายคุมาโนะ บอกต่อเจ้าอาวาสว่า เขาเองเริ่มเก็บสะสมพระพุทธรูป ตั้งแต่ก่อนจะแต่งงาน และ เมื่อวันที่ 15 พ.ย.2555 ก็ได้แสดงความประสงค์จะขอบริจาคของเก่าแก่ทั้งหมดให้แก่วัดแห่งนี้

และเมื่อเรื่องนี้ออกไปสู่สาธารณชน ก็ได้มีชาวพุทธจากทั่วสารทิศหลั่งไหลไปที่วัด หลายคนเรียกที่นั่นว่า “วัดญี่ปุ่น” ซึ่งเปิดให้ประชาชนทั่วไปได้เข้านมัสการ ในวันพฤหัสบดี วันศุกร์ และในช่วงสุดสัปดาห์ อิรวดีกล่าว.



วัดอองซาบูดอยาธรรมะไย๊คตา (Aung Zabu Tawya Dhamma Yeiktha) ในเขตเมืองหมอบี (Hmawbi) กลายเป็นปลายทางที่ได้รับความนิยม

วัดแห่งนี้นำพระพุทธรูปเก่าแก่ 301 องค์ ที่ได้รับบริจาค จากชาวญี่ปุ่นผู้หนึ่ง ออกแสดงให้ชาวพุทธทั่วประเทศได้ไปกราบไหว้. -- ภาพ: Sai Zaw/The Irrawaddy.

Source: http://www.manager.co.th/Around/ViewNews.aspx?NewsID=9570000122197

http://www.oknation.net/blog/supawan/2014/10/24/entry-1