ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: มดเอ๊กซ
« เมื่อ: กรกฎาคม 28, 2016, 01:27:41 am »



อาจละ (สันสกฤต: अचल; อ่านว่า /อา-จะ-ละ/, จีน: 不動明王; Bùdòng Míngwáng, ญี่ปุ่น: 不動明王  Fudō myō-ō ฟุโดเมียวโอ ?) เป็นวิทยราชองค์หนึ่งในลัทธิพุทธตันตระวัชรยานหรือในศาสนาพุทธนิกายชินงนในกรณีของประเทศญี่ปุ่น เป็นสัญลักษณ์ของผู้ทำลายสิ่งลวงตาและปกป้องพุทธศาสนา รูปลักษณ์ของอาจละแสดงถึงการอยู่นิ่ง การไม่เคลื่อนที่ ในขณะที่เกิดอารมณ์โกรธ ช่วยเหลือเหล่ามนุษย์ เป็นสัญลักษณ์ของการควบคุมตนเอง ตามนัยของคำว่า "อาจละ" ในภาษาสันสกฤต ซึ่งแปลว่า "ไม่เคลื่อนไหว" ถือเป็นเทพเจ้าที่ทำงานให้กับพระไวโรจนะพุทธะ

อาจละนับเป็นวิทยราชซึ่งเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางที่สุดในบรรดาวิทยราชทั้งห้าผู้สถิตในครรภโกษธาตุ นามอื่นๆ ของอาจละในภาษาสันสกฤตได้แก่ "อาจลวิทยราช", "อาจลนาถ", "อารยาจลนาถ" และ "จัณฑมหาโรศนะ"

รูปลักษณ์ของอาจละในภาพวาดหรือตามรูปปั้น มีลักษณะเป็นรูปบุคคลถือดาบซึ่งมีปลายด้ามเป็นรูปวัชระในมือขวา ใช้การในปราบสิ่งชั่วร้าย มือซ้ายถือเชือกเพื่อการจับมัดสิ่งชั่วร้าย ด้านหลังล้อมรอบด้วยเปลวไฟเป็นประภามณฑล และมักปรากฏในท่ายืนหรือนั่งบนหินแสดงถึงการไม่เคลื่อนไหว ทรงผมมัดเป็นเปียอยู่เจ็ดปมและปลายผมวางบนไหล่ซ้าย เป็นสัญลักษณ์ของผู้รับใช้ของพระพุทธเจ้า ที่มุมปากมีเขี้ยวสองข้าง ด้านหนึ่งชี้ลงแสดงถึงการปฏิบัติตัวบนโลก และข้างหนึ่งชี้ขึ้นแสดงถึงการค้นหาความจริง





nan mo san mang duo gua zi nan nai han

nan mo mo gu san mang da

<a href="https://www.youtube.com/v/YfLTel5hDWA" target="_blank" rel="noopener noreferrer" class="bbc_link bbc_flash_disabled new_win">https://www.youtube.com/v/YfLTel5hDWA</a>

สำรอง http://www.sookjai.com/index.php?topic=179139.0