ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ความดีนำทาง:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: มดเอ๊กซ
« เมื่อ: สิงหาคม 02, 2016, 06:35:37 pm »




อินทรีย์ 6 ดุจโจรหกคน

อาจารย์และศิษย์รอนแรมกันมา จนเริ่มย่างเข้าฤดูหนาว พลันโจร ๖ คนก็จู่โจมเข้าขวางหน้า ตวาดว่าต้องการทรัพย์และชีวิต เห้งเจียกรากเข้าประจันหน้าแล้วร้องถามชื่อแช่ โจรทั้ง ๖ ก็ร้องตอบบอกชื่อดังนี้
 
โจรคนที่ ๑ ชื่อ งั้นขันชี้ ตา เห็นรูป ใจเร้า
 
โจรคนที่ ๒ ชื่อ ยี่เทียล้อ หู ยินเสียง ใจสยิว
 
โจรคนที่ ๓ ชื่อ ภิชืออ้าย จมูก ได้กลิ่น ใจแพ้
 
โจรคนที่ ๔ ชื่อ จิสองซื้อ ปาก ลิ้มรสแล้ว ใจดิ้น
 
โจรคนที่ ๕ ขื่อ ซิ้นปุ๊มอิ๋ว สัมผัส ผิว ทำให้ ใจบ้า
 
โจรคนที่ ๖ ชื่อ อี่เกี้ยนออก ใจ รู้คิดให้ ใจพะว้า
เห้งเจียได้ยินชื่อแล้วหัวร่อก๊ากใหญ่ ตอบออกไปเสียงดังว่า
 
"อ้ายพวกลูกหลานข้า เจ้าพวกขนหน้าแข้งของปู่เจ้าทั้งหก เมื่อปล้นอะไรมาได้แบ่งให้ปู่แล้วจะไว้ขีวิตเจ้า"
 
โจรทั้งหกได้ฟังดันนั้นก็โกรธ เข้ารุมทำร้ายเห้งเจีย จึงโดนเห้งเจียตีตายหมด พระถังซัมจั๋งเห็นศิษย์โหดร้าย ตำหนิว่ากล่าว ศิษย์อาจารย์โต้เถียงด่าทอกันรุนแรง พระถังซัมจั๋งเดือดดาลจึงขับไล่ไม่ให้ร่วมทางไปไซที เห้งเจียน้อยใจ เหาะลิ่วไปซดน้ำชากับพญาเล่งอ๋องที่ใต้บาดาล



 (ความตอนนี้

 โจรทั้งหก คือ ผัสสะ ๖
  ตาเห็นรูป           จักษุวิญญาณเกิด
  หูได้ยิน              โสตวิญญาณเกิด
  จมูกรับกลิ่น        ฆานวิญญาณเกิด
  ปากลิ้มรส          ชิวหาวิญญานเกิด
  ผิวรู้สึกในสัมผัส  กายวิญญาณเกิด
  ใจนึกคิด            มโนวิญญานเกิด
 
วิญญาณทั้ง ๖ ที่เกิดขึ้นจากอายตนะ ๖ กับอารมณ์ ๖ นั้น คือ วิญญาณธาตุ เห้งเจียจึงเปรียบว่าเหมือน เป็นขนหน้าแข้งของตนเอง(โพธิจิต) เพราะเห้งเจียเข้าใจในมูลธาตุ ๑๘ เป็นอย่างดี ( มูลธาตุ ๑๘ คืออาวุธเหล็ก ๑๘ อย่างที่เป็นอาวุธเดิมของเห้งเจีย ก่อนที่จะมีกระบองยู่อี่) เมื่อเห็นเข้าจึงตรงเข้าตีจนโจรทั้ง ๖ ตาย เพราะรู้ว่าโจรทั้งหกได้แก่ รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส และอารมณ์ ซึ่งถือว่าเป็นอวิชชาผัสสะ เป็นอุปสรรคสำคัญยิ่งในการเดินทางไปไซทีในครั้งนี้ ดังนั้นจึงต้องตีให้ตาย เพราะขณะนี้จิตได้ละขันธ์ ๕ ได้แล้วจึงเข้าใจความเป็นมาเป็นไปในวิญญาณขันธ์เป็นอย่างดี ทำให้ไม่ยึดติดในอารมณ์ทั้ง ๖ นั้น คือ การเดินทางเข้าสู่พุทธภาวะได้นั้นจะต้องกำหนดรู้ในอายตนะทั้งหกให้ได้ก่อน)


จาก http://www.khuncharn.com

อีกอัน ไซอิ๋ว ฉบับ อาจารย์ เขมานันทะ http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=maekai&month=10-07-2008&group=15&gblog=1