ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: มดเอ๊กซ
« เมื่อ: สิงหาคม 09, 2016, 03:32:29 pm »




ไตรลักษณ์ คือการบวชแท้
 
 
เมื่อเห้งเจียจากไป พระถังซัมจั๋งจำต้องเดินจูงม้าลำพังแต่องค์เดียว ให้รู้สึกเงียบเหงาแสนว้าเหว่ รู้สึกเหนื่อยล้านั่งลงคอตก ครู่หนึ่งมีแม่เฒ่า ผู้หนึ่งปรากฏกายขึ้น (พระโพธิสัตว์กวนอิมแปลงกายมา) เข้ามาสนทนาด้วย สอบถามได้ความแล้ว จึงกล่าวว่า “การที่จะไปไซทีโดยไม่มีเห้งเจียนั้นย่อม ไปไม่ถึงโดยแน่นอน”
 
แม่เฒ่าจึงรับปากว่าจะช่วยไปตามเห้งเจียให้ พร้อมกันนั้นได้มอบเสื้อ และห่วงมงคลสามห่วง ไว้สำหรับสวมหัว พร้อมให้มนต์คาถา สะกดหัวใจ สำหรับปราบเห้งเจียเมื่อเกิดดื้อรั้น หรือดุร้าย
 
พระโพธิสัตว์กวนอิม(เมตตาบารมี) ไม่ต้องการปรากฏกายให้เห้งเจียเห็น จึงให้พญาเล่งอ๋องช่วยกล่อมเห้งเจีย โดยเตือนสติให้คิดถึงมรรคผล ในที่สุดเห้งเจียได้สติจึงเหาะย้อนกลับมาหาพระถังซัมจั๋ง
 
พระถังซัมจั๋งดีใจและบอกว่า หากเจ้ามีความตั้งใจบรรลุมรรคผลเช่นนี้ ข้าจะให้เจ้าเป็นศิษย์ข้า และข้าจะบวชให้เจ้าดีหรือไม่ เห้งเจียให้ดีใจตอบตกลง พระถังซัมจั๋งขอให้เห้งเจียสวมเสื้อ และห่วงมงคลสามห่วงโดยบอกว่าเป็น ห่วงมงคลวิเศษ (ไตรลักษณ์ = อนิจจํ ทุกขํ อนตฺตา) สวมศีรษะ ไว้จะทำให้เจ้าฉลาดรอบรู้ ส่วนเสื้อ (โยนิโส มนฺสิการ = การเฝ้าดูจิต) นั้นทำให้ รู้จักขนบธรรมเนียมประเพณีโดยไม่ต้องเรียนต้องฝึก
 
เห้งเจียหลงเชื่อยอมสวมใส่แต่โดยดี ครั้นแล้วพระถังซัมจั๋งลองร่ายมนตร์สะกด เห้งเจียรู้สึกปวดขมับล้มกลิ้งไปมา กลายเป็นลิงว่าง่าย อยู่ในกำมือของพระถังซัมจั๋ง
 
(ความตอนนี้หมายความว่า โพธิจิตที่ยังเถื่อนอยู่ต้องอาศัยการหลอกล่อ ด้วยการให้บวชและรับของกำนัล โดยหลอกว่าเมื่อใส่เสื้อ และ ห่วงมงคลสามห่วงแล้วจะรู้เรื่องปริยัติได้โดยสิ้นเชิง
 
ความจริงแล้วการใส่เสื้อ คือ โยนิโส มนฺสิการ เป็นการเฝ้าดูจิตให้อยู่ในตำแหน่งที่ถูกต้องทางธรรม และวินัยไม่ออกนอกลู่นอกทาง
 
การสวมห่วงมงคล ๓ ห่วง คือ ไตรลักษณ์ เป็นการกำกับปัญญา ให้คอยกำหนดรู้ถึงไตรลักษณ์อยู่ตลอดเวลาอันได้แก่
 
อนิจฺจํ - ความไม่เที่ยง
 
ทุกขํ - สภาวะที่ไม่สามารถทนอยู่ในสภาพเดิมได้
 
อนตฺตา - ความไม่มีตัวตน
 
การสวมมงคลไว้บนหัวเห้งเจีย(ปัญญา) เพื่อควบคุมเห้งเจียไม่ให้ดื้อรั้น คราใดที่เห้งเจียเกิดดื้อรั้นออกนอกลู่นอกทาง เมื่อนั้นห่วงมงคลจะบีบศีรษะให้เจ็บปวด และยินยอมที่จะเชื่อฟัง นั่นคือการกำหนดกัมมัฏฐาน ที่มีไตรลักษณ์เป็นอารมณ์ โพธิจิต หรือปัญญา จึงเริ่มถูกกำกับให้อยู่ในเส้นทางแห่งสัมมาทิฏฐิของมรรคผล คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา การเดินทางของจิตสู่พุทธภาวะเริ่มกำหนดให้ตั้งมั่นอยู่ในเส้นทางอันถูกต้อง อันสมควรแล้ว)


จาก http://www.khuncharn.com/skills

อีกอัน ไซอิ๋ว ฉบับ อาจารย์ เขมานันทะ http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=maekai&month=10-07-2008&group=15&gblog=1