ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: มดเอ๊กซ
« เมื่อ: สิงหาคม 25, 2016, 11:55:54 pm »




DO & DON’T วิธีปฏิบัติต่อพระพุทธรูป – แคมเปญดีๆ จาก KNOWING BUDDHA

เชื่อว่าหลายท่านคงเคยได้ยินว่าชาวต่างชาตินำพระพุทธรูปหรือสัญลักษณ์พระพุทธเจ้าไปเป็นของตกแต่ง
บ้างก็นำไปประดับในสวน บ้างก็นำไปประดับผับ บาร์ ห้องอาหาร แย่กว่านั้นคือนำไปเป็นลวดลายบทสเก็ตอบอร์ดและฝาชักโครก










การลบหลู่สัญลักษณ์พระพุทธเจ้าเกิดขึ้นมากมายทั่วโลก แต่ไม่มีหน่วยงานใดออกมาแก้ไขจริงจัง เหตุนี้จึงมีชาวพุทธกลุ่มหนึ่งรวมตัวกันจัดตั้งองค์กรให้ความรู้ ปกป้องและยับยั้งการย่ำยีพระพุทธศาสนา ภายใต้ชื่อ “Knowing Buddha” ทำหน้าที่ให้ความรู้กับชาวต่างชาติว่าสัญลักษณ์พระศาสดามีไว้เคารพสักการะและระลึกถึงคำสอนของท่าน ไม่ควรนำมาใช้อย่างไม่เหมาะสม

องค์โนอิ้งบุดด้าจึงเสนอหลักการปฏิบัติต่อพระพุทธรูปและสิ่งที่ไม่ควรกระทำกับพระพุทธรูป ดังนี้

Do

1.แสดงความเคารพ ด้วยภาษากายและใจอย่างนอบน้อม
2.ให้ความรู้ หากเห็นว่าผู้ใดไม่รู้หลักปฏิบัติต่อพระพุทธรูปและพระสัญลักษณ์ พึงชี้แนะบอกกล่าว
3.ช่วยแก้ไข ให้คำแนะนำและร่วมมือกันแก้ไขการกระทำที่ไม่ถูกต้อง โดยไม่ปล่อยปละละเลยให้เกิดเป็นแบบอย่างที่ผิด

Don’t

1. ไม่ประพฤติลบหลู่ดูหมิ่น
2. ไม่ผลิตและจำหน่าย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นของตกแต่งและอื่นใดนอกเหนือจากการสักการะบูชา
3. ไม่วางพระพุทธรูป รูปปั้น ภาพวาดหรือสัญลักษณ์ของพระพุทธองค์เป็นดั่งเฟอร์นิเจอร์และของตกแต่ง
4. ไม่ล้อเลียนพระรูปและพระนาม
5. ไม่นำมาเป็นรอยสักเพราะร่างกายเป็นสิ่งสกปรก









นอกจากนี้เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ องค์กรโนอิ้งบุดด้า ยังจัดเดินรณรงค์ให้ความรู้ชาวต่างชาติที่ถนนข้าวสาร และล่าสุดยังจัดนิทรรศการรูปแบบใหม่ของงานพระพุทธศาสนา “Spiritual Life” exhibition ขึ้นที่วัดโพธิ์ ภายในงานนอกจากจะให้ความรู้ชาวต่างชาติเรื่องหลักปฏิบัติต่อพระพุทธรูปแล้ว ยังมี VDO spiritual life  สอนพื้นฐานการปฏิบัติสมาธิภาวนา และมีจุดให้เขียน postcard เพื่อส่งไปบอกกล่าวบริษัทผู้ผลิตให้หยุดการลบหลู่และหยุดการจำหน่ายเพื่อการตกแต่งอีกด้วย





ท่านใดสนใจเรื่องราวขององค์กรโนอิ้งบุดด้า สามารถเข้าไปอ่านเพิ่มเติมได้ใน www.knowingbuddha.org และเฟซบุ๊กแฟนเพจ Knowing Buddha & 5000s.org

จาก http://www.secret-thai.com/article/dharma/6254/respect-buddha/