ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: 時々होशདང一རພຊຍ๛
« เมื่อ: สิงหาคม 26, 2016, 12:58:04 am »









COVID 19 Pandemic คงไม่มีทางหยุดยั้งอีกแล้ว

การเคลื่อนไหวเพื่อการเผยแผ่ ธรรม ของพวกเรา คือการฟื้นคืนความมีชีวิตชีวาแก่สังคมและแผ่ขยายเครือข่ายแห่ง(สันติภาพ)บนพื้นฐานของการปฏิวัติมนุษย์ของแต่ละคน พลังขับดันคือ การออกไปสนทนากับผู้อื่นอย่างกล้าหาญและบอกเล่าความเชื่อมั่นในการศรัทธาในพระธรรมของเรา พวกเราโชคดีที่พบกับปรัชญาสูงสุดของ พุทธธรรม ทั้งการเผยแผ่พระธรรมและชีวิตไม่อาจหลีกเลี่ยงการท้าทายได้โดยการตัดสินใจที่กระตือรือร้นและจริงใจที่สุดจะได้รับปัญญาและความเข้มแข็งที่เราเอาชนะการต่อสู้ดังกล่าวได้ขอให้มีความระมัดระวังไม่ตกอยู่ในความประมาทและความเคยชินขอให้มุ่งไปที่ผลลัพธ์ที่สูงสุดและดีที่สุดเสมอการปฏิเสธที่จะยอมแพ้มารหรืออุปสรรค ซึ่งมาขัดขวางการเผยแผ่ธรรม


A friend in need is a friend indeed = เพื่อนแท้คือเพื่อนในยามยาก

Joy and sorrow are as near as today and tomorrow = ความสุขกับความทุกข์อยู่ใกล้กันเหมือนวันนี้กับวันพรุ่งนี้


ผลลัพธ์อะไรที่เราจะได้รับในอนาคตขึ้นอยู่กับเหตุที่เราทำในขณะนี้ขอให้ลงมือกระทำเดี๋ยวนี้ขอให้หว่านเมล็ดแห่งความสำเร็จในอนาคตเดี๋ยวนี้นี่คือยุทธวิธีเพื่อชัยชนะการมีความศรัทธาเหมือน(น้ำ)หมายถึงการมีความศรัทธาอย่างต่อเนื่อง ไม่มีถอยเวทีหลักของการส่งเสริมการเผยแผ่ธรรมไพศาลมีอยู่ในชีวิตประจำวันของเรานั่นเองผู้ที่เพียรพยายามอย่างต่อเนื่องไม่หยุดไม่ว่าจะมีคนเห็นการอุทิศตนของเราหรือไม่ก็ตามนั้นเป็นสัตบุรุษที่แท้จริง


คฤหัสถ์(อ่านว่า คะรึหัด)แปลว่า ผู้มีเรือน ผู้ครองเรือน ผู้อยู่ในเรือน เรียกรวมทั้งชายและหญิง


สัตบุรุษคือ......

เป็นผู้ประกอบด้วยธรรม 7 ประการคือศรัทธา หิริ โอตตัปปะ พาหุสัจจะ วิริยะ สติ ปัญญา

ไม่ปรึกษาอะไรที่เบียดเบียนตนและผู้อื่น

ไม่คิดอะไรเพื่อเบียดเบียนตนและผู้อื่น

ไม่พูดอะไรเพือเบียดเบียนตนและผู้อื่น

ไม่ทำอะไรเพือเบียดเบียนตนและผู้อื่น

มีความเห็นชอบ เป็นสัมมาทิฐิ

ให้ทานโดยความเคารพ ไม่ให้แบบทิ้งขว้าง


โดย..... 時々๛༢༠༡༦ कभी कभी 一