ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
คุณพ่อคุณแม่เปรียบดั่งพระอรหันต์ในบ้าน พิมพ์คำว่า "คุณพ่อคุณแม่ฉันรักและเคารพท่านดุจพระอรหันต์":
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: 時々होशདང一རພຊຍ๛
« เมื่อ: สิงหาคม 26, 2016, 11:27:23 am »









ความเจ็บป่วยก่อให้เกิดจิตใจแสวงหาธรรม



มีเพียงการเอาชนะศัตรูที่เข้มแข็ง จึงจะสามารถพิสูจน์ถึงพลังที่แท้จริงของเราได้




ถึงแม้ว่าสรรรพสัตว์จะมีเหตุ 3 ประการแห่งพุทธธาตุ แต่ถ้าสรรพสัตว์เหล่านี้ไม่ได้พบกับปัจจัยที่ดี เช่น เพื่อนดี หรืออาจารย์แล้ว พวกเขาก็ไม่อาจรู้แจ้ง พวกเขาจะไม่เข้าใจ  ธรรมชาติ พุทธ จะไม่ปรากฏออกมา



ปุถุชนเพราะอวิชชาจึงไม่รู้ว่าปุถุชน ประกอบกรรมดีเพื่อหวังความสุขและพ้นไปจากทุกข์



สัจธรรม สัมมา ตถาคต
ธรรมบท ไตรลักษณ์ หลักสิกขา
สิ่งทั้งหลาย กายจิต อนิจจา
อนัตตา ทุกอย่าง เปล่าว่างดาย
สัมผัสหก ตกมา คาที่จิต
แม้นเห็นผิด อวิชชา มาล้นหลาย
หากหลงรูป จูปเงา เศร้าใจกาย

สุขที่หมาย ผันแปร ไม่แน่นอน
รักหรือหลง จงพินิจ สิ่งจิตสร้าง
ทุกสิ่งอย่าง ดั่งคำ พระธรรมสอน
พิศวาส ขาดปัญญา พาม้วยมรณ์
ดั่งมารดร สินสมุทร รักทรุดพัง

อันสิ่งใด ให้สุข ทุกวันนี้
จักต้องมี ทุกข์ได้ เมื่อภายหลัง
สุขโลกีย์ นี้ไซร้ ไม่จีรัง
ผุดผุพัง ดั่งคำ องค์สัมมา


จงไปในสถานที่ที่ยากลำบากที่สุดก่อน จัดการกับปัญหายากที่สุดก่อน ถ้าท่านเริ่มต้นด้วยการท้าทายกับเรื่องที่ยากลำบากที่สุด ท่านจะสามารถตีแตกในการต่อสู้และก้าวต่อไปอย่างยิ่งใหญ่ได้



ปุถุชนนั้น ประกอบกรรมดี สั่งสมบุญกุศลโดยการ ทำบุญ ทำทาน ถือศีล สวดมนต์ ฯลฯ ในจิตก็ล้วนแต่ยังหวังในอานิสงส์ผลของบุญให้ช่วยเหลือเกื้อหนุนให้พ้นทุกข์หรือเกิดความสุข และยังคาดหวังอยู่ลึก ๆ ให้เกิดให้มีความสุขความสบายและพ้นไปจากทุกข์ไปถึงภพชาติต่อ ๆ ไปในภายภาคหน้าอีกด้วยจงอย่าลืมบุญคุณและขอบคุณต่อความเพียรพยายามของทุกคน นี่คือความเป็นมนุษย์ และบุคลิกลักษณะที่ดึงดูดผู้อื่น คัมภีร์พุทธศาสนาบรรยายถึงพระศากยมุนีพุทธว่า มีคำพูดที่ยินดีต้อนรับและใส่ใจอย่างเป็นมิตร ดีใจที่เห็นคนอื่นสนุกสนานและสดใสอยู่เสมอ กระตือรือร้นที่จะทักทายคนอื่นก่อนที่คนอื่นจะทักทายพระองค์ นี่คือแบบอย่างที่แท้จริงของผู้ปฏิบัติ พุทธธรรม