ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
โดยปกติชน นิ้วมือของคนเรา มีกี่นิ้ว (ตอบเป็นภาษาไทยครับ):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ขอโทษนะ":
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
รู้สึกระอายใจไหมที่เราทำร้ายคนอื่นด้วยวาจาหรือสำนวนที่ไม่สุภาพ โดยที่คนคนนั้นเค้าเคยเป็นผู้มีพระคุณต่อเรามา (ไม่ละอายใจ)หรือ(ละอายใจ):
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: มดเอ๊กซ
« เมื่อ: สิงหาคม 31, 2016, 02:36:58 am »



พระโพโคทะ ศีลวิมล
เจ้าอาวาสวัดพุทธลอนดอนวิหาร
(London Buddhist Vihara)
กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร


เมื่อต้นปี 2005 หลังเหตุการณ์แผ่นดินไหวและสึนามิครั้งรุนแรงในมหาสมุทรอินเดียในเดือนธันวาคม 2004 เจ้าฟ้าชายชาร์ลส์ มกุฎราชกุมารแห่งอังกฤษ ได้เสด็จเยี่ยมวัดพุทธลอนดอนวิหาร (London Buddhist Vihara) แห่งสหราชอาณาจักร (United Kingdom) เพื่อสนับสนุนและชื่นชมความสามัคคีเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกันของประชาชนชาวศรีลังกาและที่อื่นๆ ที่ได้รับทุกข์ทรมานสาหัสจากภัยพิบัติ

พระองค์ทรงมีพระเมตตา ทรงสนพระทัยในพุทธศาสนา และทรงซักถามหลายเรื่อง ทรงสนพระทัยเรื่องการทำสมาธิและวิธีการนั่งขัดสมาธิ

ต่อมาพระโพโคทะ ศีลวิมล เจ้าอาวาสวัดพุทธลอนดอนวิหาร ได้รับนิมนต์ให้ร่วมในพระราชพิธีอภิเษกสมรสของเจ้าชายวิลเลียม (พระโอรสในเจ้าฟ้าชายชาร์ลส์และเจ้าหญิงไดอานาผู้ล่วงลับ) และนางสาวเคท มิดเดิลตัน ซึ่งจัดขึ้น ณ มหาวิหารเวสต์มินสเตอร์ แอบบีย์ เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2011

เจ้าอาวาสวัดพุทธลอนดอนวิหาร ได้ถวายคำแนะนำแด่คู่อภิเษกว่า เคล็ดลับของการครองเรือนอย่างมีความสุข คือ การทำสมาธิทุกวัน

“คุยปัญหาและทำสมาธิด้วยกันทุกเช้า เพื่อให้จิตว่างเปล่า ก็จะแก้ปัญหาได้”


แม้ว่าพระโพโคทะจะเป็นพระสงฆ์รูปแรกในพุทธศาสนา ที่ได้รับนิมนต์ให้เข้าร่วมในพระราชพิธีอภิเษกสมรสของราชวงค์อังกฤษ แต่นี่มิใช่ครั้งแรกที่ท่านได้เข้าเฝ้าเชื้อพระวงค์

เมื่อต้นปี 2005 หลังเหตุการณ์แผ่นดินไหวและสึนามิครั้งรุนแรงในมหาสมุทรอินเดียในเดือนธันวาคม 2004 เจ้าฟ้าชายชาร์ลส์ มกุฎราชกุมารแห่งอังกฤษ ได้เสด็จเยี่ยมวัดพุทธลอนดอนวิหาร เพื่อสนับสนุนและชื่นชมความสามัคคีเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกันของประชาชนชาวศรีลังกาและที่อื่นๆ ที่ได้รับทุกข์ทรมานสาหัสจากภัยพิบัติ

ท่านเล่าว่า พระองค์ทรงมีพระเมตตา ทรงสนพระทัยในพุทธศาสนา และทรงซักถามหลายเรื่อง ทรงสนพระทัยเรื่องการทำสมาธิและวิธีการนั่งขัดสมาธิ

พระโพโคทะอยากให้เจ้าชายวิลเลียมทรงดำเนินตามรอยพระบาทของพระบิดา เพื่อเข้าเยี่ยมวัดแห่งนี้ “อาตมาอยากให้ทั้งสองพระองค์เสด็จมาปฏิบัติสมาธิที่นี่”

อนึ่ง วัดพุทธลอนดอนวิหาร สร้างขึ้นในปี 1926 เป็นวัดในนิกายเถรวาทของศรีลังกา และเป็นวัดพุทธแห่งแรกที่ตั้งอยู่นอกทวีปเอเชีย







London Buddhist Vihara
Dharmapala Building, The Avenue Chiswick,
London W4 1UD, United Kingdom.
Telephone: +44 (0)20 8995 9493
Fax: +44 (0)20 8994 8130
Email: london.vihara@virgin.net
http://www.londonbuddhistvihara.org


(จาก Chiswickw4.com, londonbuddhistvihara.org)

จาก http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?t=48355