ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆในโลกออนไลน์ใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
ระหว่าง (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะผู้อื่น) กับ (ผู้ที่เรียนรู้ธรรมะเพื่อเอาชนะตัวเอง)  ท่านจะเลือกเป็น:
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เคยนวดฝ่าเท้าให้ คุณพ่อคุณแม่บ้างไหม ถ้ามีโอกาส เราควรทำหรือไม่ (ควรกระทำอย่างยิ่ง หรือ ไม่ควรทำ):
ธรรมะคือ ธรรมชาติ พิมพ์คำว่า (ธรรมะชาติ) ครับ:
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: มดเอ๊กซ
« เมื่อ: กันยายน 30, 2016, 09:45:32 pm »



คำยืนยันจากหลวงปู่มั่น... "ศาสน์-กษัตริย์" เปรียบเสมือนเสาหลักค้ำจุนกันและกัน!! "ถ้าขาดพระมหากษัตริย์...พระอริยบุคคลก็หายไปด้วย"!!

เทศนาหลวงปู่มั่น “ถ้าขาดพระมหากษัตริย์...อริยบุคคลก็ขาดไปด้วย”!!

เรื่องของพระอริยบุคคลนี้ พระอาจารย์มั่นปรารภไว้หลายสถานที่ หลายวาระต่าง ๆ กัน แล้วแต่เหตุ

ท่านกล่าวว่า  ชาวพุทธมีหลายประเทศ  แต่จะขอกล่าวเฉพาะที่ใกล้เคียง คือ เขมร ลาว เวียดนาม และพม่า  นอกนี้ไม่กล่าว

พระอาจารย์มั่นบอกว่า

"เราไม่ได้ว่าเขาเหล่านั้น ... แต่ได้พิจารณาแล้ว ไม่มีก็ว่าไม่มี มีก็ว่ามี"

ท่านหมายถึงว่า  พระอริยบุคคลในประเทศเหล่านี้มีที่ประเทศพม่าเพียงคนเดียว อยู่ในหมู่บ้านที่ท่านไปจำพรรษา เป็นผ้าขาว (อุบาสกผู้ถือศีล) ซึ่งเล่ากันว่า บุตรสาว บุตรเขย และบุตรชายของผ้าขาวคนนั้นล่ะ ที่มาจัดเสนาสนะของบิดาเพื่อถวายพระอาจารย์มั่นและท่านเจ้าคุณบุญมั่นครั้งจำพรรษาที่ประเทศพม่า

ท่านว่า

"ยกเว้นสยามประเทศแล้ว...นอกนั้นไม่มี!

สำหรับสยามประเทศตั้งแต่บัดนั้นมาจนถึงปัจจุบัน...มีติดต่อมาโดยไม่ขาดสาย ทั้งคฤหัสถ์ชายหญิงและบรรพชิต  แต่มรรคขั้นต้นคฤหัสถ์มากกว่าทั้งปริมาณ และมีสิกขาน้อยกว่า"


หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต

พระอาจารย์มั่นกล่าวต่อไปว่า

"เราไม่ได้ว่าเขา! เราไม่ได้ดูหมิ่นเขา!  เพราะประเทศเหล่านั้นขาดความพร้อมคือคุณสมบัติหลายอย่าง  เช่น  เรื่องอักขระที่ไม่เป็นพุทธภาษา (คือเป็น 'ฐานกรณ์วิบัติ')  และองค์ประกอบอย่างหนึ่งที่ขาดไม่ได้คือ ‘องค์พระมหากษัตริย์ของประเทศที่นับถือพระพุทธศาสนา’ ... นี้ก็สำคัญ ขาดไม่ได้  ถ้าขาดไป อริยบุคคลก็ขาดไปด้วย!!"

ท่านยังกล่าวอีกว่า

"เมื่อพระพุทธเจ้าจะประกาศพระศาสนา ทรงหาหลักค้ำประกันอันมั่นคง คือมุ่งไปที่พระเจ้าพิมพิสาร ... ความสำคัญอันนี้มีมาตลอด  หากประเทศใดไม่มีองค์ประกอบนี้ซึ่งเป็นเอกอัครศาสนูปถัมภก...ก็ปฏิเสธได้เลย

เปรียบเหมือนกับก้อนเส้า (ก้อนหินที่นำมาตั้งเป็นเตาทำอาหาร) สามก้อน  ก้อนที่หนึ่งคือความเป็นชาติ  ก้อนที่สองมีศาสนาพุทธเป็นศาสนาประจำชาติ  ก้อนที่สามมีพระมหากษัตริย์เป็นเอกอัครศาสนูปถัมภก  หากขาดไปก้อนใดก้อนหนึ่งก็จะขาดความสมบูรณ์ไป ไม่สามารถจะใช้นึ่งต้มแกงหุงหาอาหารได้"!!




ที่มา : หนังสือ "รำลึกวันวาน" (หนังสือรวบรวมเกร็ดประวัติ ปกิณกธรรม และพระธรรมเทศนาแห่งหลวงปู่มั่น จากบันทึกความทรงจำของหลวงตาทองคำ จารุวัณโณ)

จาก http://panyayan.tnews.co.th/contents/206542/