ข้อความโดย: มดเอ๊กซ
« เมื่อ: พฤศจิกายน 03, 2016, 09:36:31 pm »ติดตามเรื่องราว ของ ๒ หนุ่มชาวปกาเกอะญอ แห่งขุนเขาแม่แจ่ม เชียงใหม่
ที่ทำตาม "พ่อหลวง รัชกาลที่ ๙" อยู่อย่างพอเพียง บนแผ่นดินถิ่นเกิด
https://www.youtube.com/v/ui285jH_f14
จาก https://www.youtube.com/user/THAIFMTV/videos
*** หมายเหตุ
กะเหรี่ยง (KAREN) “ปกาเกอะญอ”
ชาวกะเหรี่ยง เรียกตนเองว่า “ปกาเกอะญอ” ซึ่งแปลว่า “คน” เป็นชนเผ่าที่มีจำนวนมากที่สุด ในประเทศไทย แบ่งออกได้เป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ สะกอ หรือยางขาว หรือ ปากฺกะญอ เป็นกลุ่มที่มีประชากรมากที่สุด โป หรือ โพล่ อยู่ในเขตจังหวัดแม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ และลำพูน ปะโอ หรือ ตองสู และบะเว หรือ คะยา ในเขตจังหวัดแม่ฮ่องสอน ถิ่นฐานเดิมของกะเหรี่ยงอยู่บริเวณมองโกเลียเมื่อกว่า2,000ปีมาแล้ว ต่อมาได้หนีภัยจากการรุกรานจากกองทัพจีน มาอยู่ที่ธิเบต ถอยร่นลงมาทางใต้เรื่อยๆ ตั้งแต่บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำแยงซีเกียง ลุ่มน้ำสาละวิน มาถึงคอคอดกระจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จำนวนที่อพยพเข้ามาในประเทศไทยในตอนปลายศตวรรษที่ 18 ในรัชสมัยสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ
จาก http://www.royalprojectthailand.com/karen
ที่ทำตาม "พ่อหลวง รัชกาลที่ ๙" อยู่อย่างพอเพียง บนแผ่นดินถิ่นเกิด
จาก https://www.youtube.com/user/THAIFMTV/videos
*** หมายเหตุ
กะเหรี่ยง (KAREN) “ปกาเกอะญอ”
ชาวกะเหรี่ยง เรียกตนเองว่า “ปกาเกอะญอ” ซึ่งแปลว่า “คน” เป็นชนเผ่าที่มีจำนวนมากที่สุด ในประเทศไทย แบ่งออกได้เป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ สะกอ หรือยางขาว หรือ ปากฺกะญอ เป็นกลุ่มที่มีประชากรมากที่สุด โป หรือ โพล่ อยู่ในเขตจังหวัดแม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ และลำพูน ปะโอ หรือ ตองสู และบะเว หรือ คะยา ในเขตจังหวัดแม่ฮ่องสอน ถิ่นฐานเดิมของกะเหรี่ยงอยู่บริเวณมองโกเลียเมื่อกว่า2,000ปีมาแล้ว ต่อมาได้หนีภัยจากการรุกรานจากกองทัพจีน มาอยู่ที่ธิเบต ถอยร่นลงมาทางใต้เรื่อยๆ ตั้งแต่บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำแยงซีเกียง ลุ่มน้ำสาละวิน มาถึงคอคอดกระจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จำนวนที่อพยพเข้ามาในประเทศไทยในตอนปลายศตวรรษที่ 18 ในรัชสมัยสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ
จาก http://www.royalprojectthailand.com/karen