ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
ระหว่างความดีกับความไม่ดี เราจะเลือกทำสิ่งใดจึงจะสามารถบรรลุธรรมได้จริง ( เลือกตอบแค่ ความดี กับ ความไม่ดี ครับผม):
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คุณเชื่อในศรัทธาของความดีไหมครับ ( เลือกตอบแค่ เชื่อ กับ ไม่เชื่อ ครับผม):
ถ้าเราโกรธใคร ธรรมะจะเป็นหนทางผ่อนคลายความโกรธนั้นลงได้ใช่ไหม ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม ):
ชีวิตบางครั้งก็เหมือนเหรียญสองด้านใช่หรือไม่ครับบางครั้งก็หัวบางครั้งก็ก้อย( เลือกตอบแค่ ใช่ กับไม่ใช่ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
เมื่อให้ท่านเลือก ระหว่าง (หนังสือเก่าๆเล่มหนึ่งที่เรารัก) กับ (มิตรแท้ที่รักเรา) คุณจะะเลือก:
กล่าวคำดังนี้  "ขออโหสิกรรม":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
ในโลกออนไลน์หรือโลกแห่งจิต ไม่มีใครทำอะไรเราได้ นอกเสียไปจาก (คนพาล) หรือ (ใจของเราเอง):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด ผู้ที่มีเกียรติคือผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น ฉะนั้นสมาชิกใต้ร่มธรรมควรให้เกียรติกันและกัน พิมพ์คำว่า (ฉันจะให้เกียรติสมาชิกทุกๆท่านในใต้ร่มธรรมเสมอด้วยวาจาสุภาพอ่อนน้อม):
ไม่มีอะไรสายสำหรับการเริ่มต้น พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (It is never too late to mend):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: ฐิตา
« เมื่อ: ธันวาคม 08, 2017, 08:44:22 pm »

https://youtu.be/SK34ev94ze4
อ.สุภีร์ ทุมทอง - เบนซ์ทองหล่อ
หลักธรรมตามพระไตรปิฎก ๑๙/๑๐/๕๘ รวมเรื่องโพชฌงค์ ตอนที่ ๑

ธรรมะบรรยาย : ณ โชว์รูมเบนซ์ทองหล่อ กรุงเทพมหานคร
หมวดหมู่          : หลักธรรมตามพระไตรปิฎก
หัวข้อบรรยาย  : รวมเรื่องโพชฌงค์ ตอนที่ ๑ &list(๑/๑๗)
วันที่บรรยาย    : ๑๙ ตุลาคม ๒๕๕๘
บรรยายโดย    : อ.สุภีร์ ทุมทอง
ข้อมูลเพิ่มเติม  : https://www.ajsupee.com

บรรยายหลักธรรม โดยศึกษาจากพระไตรปิฎกภาษาบาลี
เช่น พระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไร, พระะพุทธเจ้าทรงสอนอะไร,
วิธีปฏิบัติที่พระพุทธองค์ทรงแสดงคืออะไร เป็นต้น

,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,,
พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค
เล่ม ๕ ภาค ๑ - หน้าที่ 184                   
โพชฌงคสังยุต
            ปัพพตวรรคที่  ๑
      ๑.  หิมวันตสูตร
            ผู้เจริญโพชฌงค์ถึงความเป็นใหญ่ในธรรมทั้งหลาย               [๓๕๕]   ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย    พวกนาคอาศัยขุนเขาชื่อหิมวันต์   มีกายเติบโต มีกําลัง  ครั้นกายเติบโต  มีกําลังดุจขุนเขานั้นแล้ว ย่อมลงสู่บึงน้อยครั้นลงสู่บึงน้อยแล้ว    ย่อมลงสู่บึงใหญ่    ครั้นลงสู่บึงใหญ่แล้ว ย่อมลงสู่แม่น้ำน้อย  ครั้นลงสู่แม่น้ำน้อยแล้ว    ย่อมลงสู่แม่น้ำใหญ่     ครั้นลงสู่แม่น้ำใหญ่แล้วย่อมลงสู่มหาสมุทรสาคร        นาคพวกนั้น    ย่อมถึงความโตใหญ่ทางกาย   ในมหาสมุทรสาครนั้น   แม้ฉันใด ภิกษุอาศัยศีลตั้งอยู่ในศีลแล้วเจริญโพชฌงค์ ๗กระทำให้มากซึ่งโพชฌงค์  ๗    ย่อมถึงความเป็นใหญ่ไพบูลย์ในธรรมทั้งหลายฉันนั้นเหมือนกัน.                [๓๕๖]   ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย      ก็ภิกษุอาศัยศีล     ตั้งอยู่ในศีลแล้วเจริญโพชฌงค์  ๗  กระทำให้มากซึ่งโพชฌงค์ ๗  อย่างไร จึงถึงความเป็นใหญ่ไพบูลย์ในธรรมทั้งหลาย.       ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย     ภิกษุในธรรมวินัยนี้   ย่อมเจริญสติสัมโพชฌงค์    อันอาศัยวิเวก    อาศัยวิราคะ    อาศัยนิโรธ  น้อมไปในการสละ      ย่อมเจริญธรรมวิจัยสัมโพชฌงค์ . . .    วิริยสัมโพชฌงค์. . .      ปีติสัมโพชฌงค์. . .    ปัสสัทธิสัมโพชณงค์. . .   สมาธิสัมโพชฌงค์. . .   อุเบกขาสัมโพชฌงค์      อันอาศัยวิเวก   อาศัยวิราคะ   อาศัยนิโรธ   น้อมไปในการสละดูก่อนภิกษุทั้งหลาย    ภิกษุอาศัยศีล      ตั้งอยู่ในศีลแล้ว    เจริญโพชฌงค์  ๗กระทำให้มากซึ่งโพชฌงค์  ๗  อย่างนี้แล   จึงถึงความเป็นใหญ่ไพบูลย์ในธรรมทั้งหลาย.                                           จบหิมวันตสูตรที่  ๑