ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 500 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

Verification:
คนที่มีจิตใจอ่อนโยนส่วนใหญ่มัก คิดถึงสิ่งใดก่อนเสมอ  ( เลือกตอบแค่ ตัวเอง กับ คนอื่น ครับผม ):
กัน-ละ-ยา-นะ-มิด เขียนเป็นภาษาไทยที่ถูกต้องว่าอย่างไรครับ:
คิดว่าความดีทำยากไหม( เลือกตอบแค่ ยาก กับ ไม่ยาก ครับผม):
คุณเชื่อว่าทุกศาสนาสอนให้ทุกคนเป็นคนดีใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
เว็บใต้ร่มธรรมเป็นเว็บเล็กๆแนวธรรมะในจิตใช่หรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า แสงธรรมนำใจ:
^^ ขอความกรุณาพิมพ์คำว่า ใต้ร่มธรรม:
การแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำ นิยมใช้คำว่า (อนุโมทนา) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ อนุโมทนา:
เปล่งวาจาว่าสาธุ เป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัด หรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบ ทราบแล้วยกมือขึ้น (สาธุ) กรุณาพิมพ์คำนี้ครับ  สาธุ:
ท่านจะปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อตกลงของเว็บใต้ร่มธรรมทุกประการหรือไม่ ( เลือกตอบแค่ ใช่ กับ ไม่ใช่ ครับผม):
วัฒนธรรมไทยเมื่อเห็นผู้ใหญ่ท่านจะทำความเคารพ ด้วยการไหว้ท่านก่อนเสมอใช่หรือไม่:
ใต้ร่มธรรม เป็น แค่เว็บไซต์และจินตนาการทางจิต การทำดี สำคัญที่ใจเรา เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ พิมพ์คำว่า "เริ่มความดีที่ใจเราก่อนเสมอ":
บุคคลที่ไปหลายๆเว็บไซต์ โดยที่สวมบทบาทเป็นหลายๆคน โดยที่ไม่รู้ว่า แท้จริงใจเราต้องการอะไร เพื่อน หรือ ชัยชนะ:
กล่าวคำดังนี้  "ให้อภัยนะ":
หากมีคน บอกว่า เราไม่ดีเราเลว แต่ใจเรารู้ว่าไม่เป็นเช่นนั้น เราจะใช้วิธีใดจัดการกับเรื่องนี้  (โต้เถียงให้แรงกว่าที่เค้าว่ามา) หรือ (เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ความดีของเราเองไม่ต้องทำอะไร):
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ใต้ร่มธรรมเองก็จะเป็นไปตามวัฐจักรนี้ ฉันท์ใดก็ฉันท์นั้น (เป็นจริง) หรือ (ไม่จริง):
พิมพ์คำว่า (แสงธรรมนำทางธรรมะนำใจ) ครับ:
สำนวนไทยที่ว่า แต่ละคนต่างมีรสนิยมแตกต่างกัน หรือไม่ตรงกัน  พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ลางเนื้อชอบลางยา):
ขนทรายเข้าวัดคือ พิมพ์สำนวนต่อไปนี้ครับ (ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำหรือหาประโยชน์เพื่อส่วนรวมมิได้ทำเพื่อตนเอง):
ผู้ที่ไม่เคยรับรู้รสของความขมขื่น จะไม่รู้ว่าความหวานชื่นคืออะไร พิมพ์เป็นประโยคภาษาอังกฤษครับ เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดนะครับ เว้นวรรคคำด้วยครับ (He who has never tasted bitterness does not know what is sweet):

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: 時々होशདང一རພຊຍ๛
« เมื่อ: กุมภาพันธ์ 15, 2018, 10:48:08 pm »



Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism  Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism Nichiren Buddhism


ตรุษจีน 8 กุมภาพันธ์ 2559 อากาศไม่หนาวคอม ฯ เสียอีกต้องมานั่งซ่อมคอม ฯ อยู่ตั้งนาน 1 วันทำงานพระ 1 วัน คือ พุทธะ จงอย่าใช้เวลาให้สูญเปล่า หายใจทิ้งไปโดยไม่เกิดประโยชน์อันใด ถ้าท่านทำตัวแข่งกับสังคมความพินาศล่มจมจะตามมา ถ้าท่านทำตัวเห็นแก่ได้อย่าหวังน้ำใจจากเพื่อนฝูง

อะไรคือลูกธนูแห่ง พุทธปัญญา ซึ่งเป็นวิธีเดียวที่เอาชนะมารเหล่านี้ได้[สัทธรรมปุณฑริกสูตร]เป็นคำสอนสูงสุด ตกผลึก พุทธปัญญา มาเป็นคำพูด ซึ่งสอนถึงสภาพชีวิตที่มี พุทธปัญญา นั่นคือสภาพชีวิตของ(โลกพุทธะ)ที่อยู่ภายในชีวิตของเรา เราสามารถเชื่อมและเปิดเผยออกมาได้


พระนิชิเร็นไดโชนินได้กล่าวไว้ใน ธรรมนิพนธ์เรื่องสู่ผู้คนทั้งหลายในวัดเซอิโชจิ ว่า

เคยได้รับปัญญาที่ยิ่งใหญ่จากโพธิสัตว์อากาศครรภ์ที่มีชีวิต คงจะเป็นเพราะท่านสงสารอาตมาที่มีความปรารถนาว่า ขอให้เป็นผู้มีปัญญาอันดับหนึ่งในประเทศญี่ปุ่นกระมัง ท่านจึงมอบแก้วมณียิ่งใหญ่แห่งปัญญาที่สว่างดุจเดียวกับดวงดาว และอาตมาได้รับไว้ที่แขนเสื้อข้างขวา หลังจากนั้น

พระนิชิเร็นไดโชนินได้เริ่มเดินทางไปศึกษาธรรมที่วัดใหญ่ ๆ ในเมืองต่าง ๆ เช่น คามาคูระ เกียวโต และนารา เป็นต้น โดยอ่านพระสูตรทั้งหมดอย่างละเอียด ตลอดจนพิจารณาหลักธรรมคำสอนในแต่ละนิกายทั้งของหินยานและมหายาน

พระนิชิเร็นไดโชนินได้เขียนไว้เกี่ยวกับเรื่องนี้ว่าได้ศึกษาพระสูตรทั้งหลาย จนได้รู้แจ้งถึงความเด่นด้อยของแปดนิกายและพระสูตรต่าง ๆ อย่างคร่าว ๆ แล้ว พอจะสันนิษฐานได้ว่า จากการที่ท่านศึกษาตามที่กล่าวมานั้น ท่านคงได้ข้อสรุปดังต่อไปนี้

1. ในบรรดาพระสูตรทั้งหลายที่พระศากยมุนีพุทธะทรงเทศนาไว้นั้น สัทธรรมปุณฑริกสูตรเป็นพระสูตรที่สูงส่งที่สุด

2. ธรรมมหัศจรรย์ที่ตนเองรู้แจ้งนั้น ก็คือ นัมเมียวโฮเร็งเงเคียว อันเป็นธรรมที่เป็นแก่นสำคัญของสัทธรรมปุณฑริกสูตรหลังการปรินิพพานของพระศากยมุนีพุทธะแล้ว ดังนั้นจึงควรที่จะเผยแผ่นัมเมียวโฮเร็งเงเคียว ในฐานะเป็นธรรมที่จะช่วยเหลือผู้คนทั้งหลายได้

3. ตนเองผู้ซึ่งรู้แจ้งธรรมอันเป็นแก่นแท้นั้น เป็นโพธิสัตว์จากพื้นโลก โดยเฉพาะเป็นการกลับชาติมาเกิดของพระวิศิษฐ์จาริตรโพธิสัตว์ ผู้นำของโพธิสัตว์จากพื้นโลกที่ได้รับมอบหมายภาระหน้าที่ในการช่วยเหลือผู้คนในสมัยธรรมปลายจากพระพุทธะ จึงมีภาระหน้าที่ที่จะนำธรรมมหัศจรรย์ให้ปรากฏออกมาในฐานะที่เป็นธรรมที่ควรจะเผยแผ่ในสมัยธรรมปลาย


บุคคลที่มีความสงบสำรวมมักเป็นผู้ที่มีแต่คนอยากอยู่ใกล้ เพราะอยู่ด้วยแล้วสบายใจ ไม่มีความทุกข์ ไม่มีพลังงานด้านลบออกมาจากตัวตนของคนผู้นั้น
1. เป็นผู้ไม่ฉุนเฉียว
2. เป็นผู้ไม่หวาดหวั่น
3. เป็นผู้ไม่โอ้อวด
4. เป็นผู้ไม่ก่อความรำคาญ
5. เป็นผู้พูดด้วยปัญญา
6. เป็นผู้ไม่ฟุ้งซ่าน
7. เป็นผู้มีวาจาอันสำรวมแล้ว
8. เป็นผู้วางตัวเป็นกลาง
9. เป็นผู้มีสติทุกเมื่อ
10. เป็นผู้ไม่ถือตัวว่าเสมอกับเขา
11. เป็นผู้ไม่ถือตัวว่าวิเศษกว่าเขา
12. เป็นผู้ไม่ถือตัวว่าต่ำกว่าเขา
13. เป็นผู้ไม่มีโทษอันทำให้มืดมัวดุจฝ้า
14. เป็นผู้ไม่ยึดถือสิ่งใด ๆ ในโลกว่าเป็นของตน
15. เป็นผู้ไม่เศร้าโศกเพราะสัตว์และสังขารที่เสื่อมไป
16. เป็นผู้ไม่ถึงอคติในธรรมทั้งหลาย


โอวาท หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต


SGI INTERNATIONAL BUDDHISM SGI INTERNATIONAL BUDDHISM SGI INTERNATIONAL SGI BUDDHISM S SGI INTERNATIONAL BUDDHISM SGI INTERNATIONAL BUDDHISM SGI INTERNATIONAL BUDDHISM SGI INTERNATIONAL BUDDHISM SGI INTERNATIONAL BUDDHISM SGI INTERNATIONAL BUDDHISM SGI INTERNATIONAL BUDDHISM SGI INTERNATIONAL BUDDHISM SGI INTERNATIONAL BUDDHISM SGI INTERNATIONAL BUDDHISM SGI INTERNATIONAL BUDDHISM SGI INTERNATIONAL BUDDHISM SGI INTERNATIONAL BUDDHISM SGI INTERNATIONAL BUDDHISM SGI INTERNATIONAL BUDDHISM SGI INTERNATIONAL BUDDHISM SGI INTERNATIONAL BUDDHISM SGI INTERNATIONAL BUDDHISM SGI INTERNATIONAL BUDDHISM SGI INTERNATIONAL BUDDHISM SGI INTERNATIONAL BUDDHISM SGI INTERNATIONAL BUDDHISM SGI INTERNATIONAL BUDDHISM SGI INTERNATIONAL BUDDHISM SGI INTERNATIONAL BUDDHISM SGI INTERNATIONAL BUDDHISM SGI INTERNATIONAL BUDDHISM SGI INTERNATIONAL BUDDHISM SGI INTERNATIONAL BUDDHISM SGI INTERNATIONAL BUDDHISM SGI INTERNATIONAL BUDDHISM SGI INTERNATIONAL BUDDHISM SGI INTERNATIONAL BUDDHISM SGI INTERNATIONAL BUDDHISM SGI INTERNATIONAL BUDDHISM SGI INTERNATIONAL BUDDHISM SGI INTERNATIONAL BUDDHISM SGI INTERNATIONAL BUDDHISM SGI INTERNATIONAL BUDDHISM SGI INTERNATIONAL BUDDHISM SGI INTERNATIONAL BUDDHISM